ผู้เขียน หัวข้อ: พระคาถา  (อ่าน 2650 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ be_ning

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 183
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
พระคาถา
« เมื่อ: 26 พ.ค. 2553, 04:03:33 »
สงสัยครับว่าพระคาถาต่างๆแต่งกันอย่างไร เพราะอย่างบทไหว้หลวงพ่อที่เสียไปแล้ว หรือ บทคาถาใช้กับเหรียญนี้ เครื่องชนิดนั้น  :075: :049:

ออฟไลน์ Tiger Number NINE

  • ส.กล้าแดง
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 544
  • เพศ: ชาย
  • ผองธุลีดิน จักพลิกชะตา
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: 26 พ.ค. 2553, 04:09:53 »
ความเห็นส่วนตัว ผมว่าน่าจะเป็นเนื้อหาและบริบทของแต่ละตัวอักขระนะครับ เหมือนเราอ่านหนังสือที่ต่างเล่มกัน ย่อมให้คุณค่าที่ต่างกัน
สุราไม่ได้สร้างวีรบุรุษ......แต่วีรบุรุษก็ขาดสุราไม่ได้

ออฟไลน์ ~@เสน่ห์เอ็ม@~

  • ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย พระคุณบิดามารดาผู้มีพระคุณ แล ครูบาอาจารย์ผู้เกื้อหนุน สาธุ..
  • เด็กวัด
  • *****
  • กระทู้: 5894
  • เพศ: ชาย
  • ศิษวัดบางพระ
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: 26 พ.ค. 2553, 05:01:11 »
พระคาถา ใช้จิต สมาธิ และ ศิล ยึดถือและเข้าถึงพระรัตนตรัย ความเชื่อมั่นและศรัทธา
เมื่อจิตเราเป็นสมาธิไปทางไหนก็ไปทางนั้น แค่คาถา นะโมพุทธายะ บทเดียว สามารถใช้ได้หลายด้านเลยทีเดียวแล้วแต่จิตจะอธิฐานไป

คาถา แตกต่างหน่อย ตรงที่ใช้แรงครูประสิทธ์ประสาทวิชาให้เข้มขลัง   เช่นบทโองการต่างๆๆ หรือที่ขึ้นต้นด้วยโอม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ค. 2553, 05:07:29 โดย เอ็มเมืองไร่ขิง »

ออฟไลน์ butterfly

  • อย่าจำว่าเราทำดีกับใคร แต่ให้จำไว้ว่าใครทำดีกับเรา
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 138
  • เพศ: หญิง
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: 26 พ.ค. 2553, 05:19:12 »
พระคาถา ใช้จิต สมาธิ และ ศิล ยึดถือและเข้าถึงพระรัตนตรัย ความเชื่อมั่นและศรัทธา
เมื่อจิตเราเป็นสมาธิไปทางไหนก็ไปทางนั้น แค่คาถา นะโมพุทธายะ บทเดียว สามารถใช้ได้หลายด้านเลยทีเดียวแล้วแต่จิตจะอธิฐานไป

คาถา แตกต่างหน่อย ตรงที่ใช้แรงครูประสิทธ์ประสาทวิชาให้เข้มขลัง   เช่นบทโองการต่างๆๆ หรือที่ขึ้นต้นด้วยโอม


รบกวนขอคำอธิบายเพิ่มเติมด้วยสิค่ะ คาถานะโมพุทธายะ บทเดียวหลายด้านนี้ใช้ยังไงบ้างค่ะ  :054:
ความรักเปรียบเหมือนรอยสัก เจ็บปวดแต่ก็งดงาม[shake][/shake]

ออฟไลน์ ~@เสน่ห์เอ็ม@~

  • ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย พระคุณบิดามารดาผู้มีพระคุณ แล ครูบาอาจารย์ผู้เกื้อหนุน สาธุ..
  • เด็กวัด
  • *****
  • กระทู้: 5894
  • เพศ: ชาย
  • ศิษวัดบางพระ
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: 26 พ.ค. 2553, 05:33:24 »
พระคาถา ใช้จิต สมาธิ และ ศิล ยึดถือและเข้าถึงพระรัตนตรัย ความเชื่อมั่นและศรัทธา
เมื่อจิตเราเป็นสมาธิไปทางไหนก็ไปทางนั้น แค่คาถา นะโมพุทธายะ บทเดียว สามารถใช้ได้หลายด้านเลยทีเดียวแล้วแต่จิตจะอธิฐานไป

คาถา แตกต่างหน่อย ตรงที่ใช้แรงครูประสิทธ์ประสาทวิชาให้เข้มขลัง   เช่นบทโองการต่างๆๆ หรือที่ขึ้นต้นด้วยโอม


รบกวนขอคำอธิบายเพิ่มเติมด้วยสิค่ะ คาถานะโมพุทธายะ บทเดียวหลายด้านนี้ใช้ยังไงบ้างค่ะ  :054:

เหอๆ ไม่ถามพีเอ็กซ์หละจ๊ะ ฮิ้ววว  :095:

บทนะโมพุทธายะ เป็นพระนามย่อของพระพุทธเจ้า ทั้ง 5 พระองค์
ซึ่งสมัยก่อนพระอาจารย์ หรือ ครูบาอาจารย์ ท่านจะใช้บารมีพระพุทธเจ้า5พระองค์นี้ นำมาเรียบเรียงอันเชิญบารมีมา

เช่นนะเมตตา โมกรุณา พุทธะปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู  อ่านก็คงเข้าใจนะครับ ว่าไปในทางไหน  คือเมตตา

หรือ อุทธัง อัดโธ นะโมพุทธายะ ก็ไปในทางมหาอุต

หรือจะใช้จริงๆ ถ้าสมาธิและจิตคุณมีถึงนะ ก็นะโมพุทธายะ ขอตั้งจิตอธิฐานบารมีพระรัตนตรัย แล้วนึกถึงพระพุทธเจ้า ทั้ง 5 พระองค์
มี
พระกกุสันธะ
พระโกนาคมน์
พระกัสสป
พระสมณโคดม
พระศรีอาริยเมตไตร
ทั้ง 5 พระองค์ลูกขออัญเชิญมา โปรดเมตตาลูกนี้ ...อะไรก็ว่าไป  แล้วแต่จะอธิฐาน ขึ้นอยู่กับจิตว่าจะได้ระดับไหนอย่างไร แค่ไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่สะสมมา
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 พ.ค. 2553, 05:34:59 โดย เอ็มเมืองไร่ขิง »

ออฟไลน์ charlie

  • ปัญจมะ
  • *****
  • กระทู้: 135
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 01:36:31 »
ส่วนผม ก่อนแขวนพระ นะโม สาม จบ ตามด้วย พุทธธัง อาราทธนานัง ธรรมมัง อาราทธนานัง สังฆัง อาราทธนานัง ตามด้วย พุทธธัง ประสิทธิเม ธรรมมัง ประสิทธิเม สังฆัง ประสิทธิเม ตามด้วย คำอธิฐานของเรา .............. จากนั้นก็นำพระขึ้นแขวนคอ
ผิด ถูก ประการใด ขอให้ช่วยแนะนำด้วยคับ

ออฟไลน์ บางแก้วฟ้า

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 692
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 09:04:50 »
ขออนุญาต เสนอความเห็นดังนี้
โดยสรุปแล้ว คาถาแต่ละบท ล้วนแตกต่างกัน มีที่มาต่างกัน มีวัตถุประสงค์ต่างกันไป ตามแต่บูรพาจารย์จะคิดค้นขึ้นมา
คาถาแต่ละบทล้วนมีความหมาย
ควรศึกษาให้ถ่องแท้ ให้เข้าใจความหมายหรือที่มาของคาถานั้น
เช่น คาถายันต์เกราะเพชร เป็นการนำเอาอักขระมาจัดเรียงใหม่ แต่มีที่มาจากบทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ
มีความหมายว่าพระองค์ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ห่างไกลจากกิเลส ทรงหลุดพ้นแล้ว 
ดังนั้น การบูชายันต์เกราะเพชร จึงเป็นการบูชาพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นครูของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
จะมีกาบูชาอันใดที่ประเสริฐเท่าการบูชาพระรัตนตรัยอีก
 
อันนั้นเป็นตัวอย่างนะครับ ถ้าเราเข้าใจความหมายของแต่ละบท รู้ที่มา จะทำให้ซาบซึ่งมากขึ้น

ส่วน ฤทธิเดชของคาถาอันนั้น น่าจะเป็นอีกเรื่องนึง ถ้าจิตของท่านมีสมาธิสงบนิ่งจริงๆ คาถาใดๆก็จะศักดิ์สิทธิ์มีฤทธิ์เดช
ต้องปฏิบัติเอง ไม่มีวิธีลัด ต้องใช้เวลา คาถาใครๆก็ท่องกันได้ไม่ยากครับ แต่จะได้ผลมากน้อยขึ้นกับจิต 
ของโบราณเป็นของจริง แต่ตัวเราไม่จริงกับของโบราณเอง 
 
ด้วยความเคารพครับ 

ออฟไลน์ bon.f11

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 70
  • เพศ: ชาย
  • bon.f11
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 09:47:06 »
ขออนุญาต เสนอความเห็นส่วนตัว
ผมว่าคาถาก็คือบทสวดมนต์ประเภทหนึ่ง
และบทสวดมนต์ที่ท่านพระสงฆ์ได้ใช้สวดเช้า-เย็นนั้น
ก็เพื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้า และปฏิบัติ ตาม พระธรรมวินัย
เพราะฉนั้นเราๆท่านๆที่นับถือศาสนาพุทธ
ก็ไม่ควรที่จะลืมสวดมนต์กันด้วยนะครับ :054: :054: :054
:


 

ออฟไลน์ ~@เสน่ห์เอ็ม@~

  • ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย พระคุณบิดามารดาผู้มีพระคุณ แล ครูบาอาจารย์ผู้เกื้อหนุน สาธุ..
  • เด็กวัด
  • *****
  • กระทู้: 5894
  • เพศ: ชาย
  • ศิษวัดบางพระ
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 10:55:23 »
ขอบคุณครับ ความคิดเห็นของผม คาถาบทใดก็แล้วแต่ ถือเป็นคำภาวนาให้จิตสงบ เมื่อจิตถึงในระดับนึงคำภาวนาก็จะหายไปเอง
พระคาถาแต่ละบท ล้วนเป็นคำประพันชนิดหนึ่ง ที่ครูบาอาจารย์ท่านแต่งขึ้นมา ถูกปะหละครับ หรือมีมาแต่ก่อน ถูกที่แต่งขึ้นมาก่อนหน้านี้แล้ว
นะเมตตา ก็เพื่อให้คนที่ท่องมีจิตใจไปทางนั้น
เช่นอุทธังอัดโธ เมืออ่านแล้วท่องแล้ว อ่อ มหาอุดนี่เอง แต่จริงๆ ถ้าแปล ความหมายคนละเรื่องเลย
หรือแม้แต่บทอิติปิโส จริงๆเป็นสรรเสริญ แต่ทำไม พระเกจิอาจารย์ท่านใช้ ได้หลายแบบหละครับ ให้เป็นเมตตาก็ได้ แคล้วคลาดก็ได้
หลวงพ่อที่ผมถามเอง ท่านก็ใช้บทคาถากับกรรมฐานหรือสามธิในการเสกทั้งนั้น

อุดธังอัดโธ โธอุดทังอัด  แล้วจะเรียง สลับไปมา แค่เนี้ย วนไปมาๆ ก็เป็นหมาอุดได้และ เป็นอุบายเพื่อให้จิตสงบครับ แล้วแต่ระดับ เป็นปิติ  หรือเข้าปฐมญาณ หรือไปแต่ละระดับ
แต่ละบท ถ้าคุณมาถอดความหมายก็พระรัตนตรัยทั้งนั้น เป็นคำนสอนบ้าง
ดูอย่างคาถาไล่ผี ที่แปลมาให้เณรไปยืนหน้าประตู ก็ขลังและ


แต่คาถา ต้องใช้แรงครู  แรงครู คืออะไร อะไรคือแรงครู อิอิ บางบทเราใช้เองไม่ได้ต้องให้เจ้าของอนุญาติก่อน ต้องทำตามพิธีการถูกต้อง
ซึ่งบางบทจะมีเกี่ยวกับเทพด้วยนะครับ

เอาเป็นว่าคาถาแต่ละบทท่องไปเถอะครับ ท่องแล้วจิตใจสงบไม่สงสัยไม่แครงใจ ก็ขลังทั้งนั้นหละครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 27 พ.ค. 2553, 10:57:44 โดย เอ็มเมืองไร่ขิง »

ออฟไลน์ ~@เสน่ห์เอ็ม@~

  • ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัย พระคุณบิดามารดาผู้มีพระคุณ แล ครูบาอาจารย์ผู้เกื้อหนุน สาธุ..
  • เด็กวัด
  • *****
  • กระทู้: 5894
  • เพศ: ชาย
  • ศิษวัดบางพระ
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 11:24:30 »
ขอบคุณครับ ความคิดเห็นของผม คาถาบทใดก็แล้วแต่ ถือเป็นคำภาวนาให้จิตสงบ เมื่อจิตถึงในระดับนึงคำภาวนาก็จะหายไปเอง
พระคาถาแต่ละบท ล้วนเป็นคำประพันชนิดหนึ่ง ที่ครูบาอาจารย์ท่านแต่งขึ้นมา ถูกปะหละครับ หรือมีมาแต่ก่อน ถูกที่แต่งขึ้นมาก่อนหน้านี้แล้ว
นะเมตตา ก็เพื่อให้คนที่ท่องมีจิตใจไปทางนั้น
เช่นอุทธังอัดโธ เมืออ่านแล้วท่องแล้ว อ่อ มหาอุดนี่เอง แต่จริงๆ ถ้าแปล ความหมายคนละเรื่องเลย
หรือแม้แต่บทอิติปิโส จริงๆเป็นสรรเสริญ แต่ทำไม พระเกจิอาจารย์ท่านใช้ ได้หลายแบบหละครับ ให้เป็นเมตตาก็ได้ แคล้วคลาดก็ได้
หลวงพ่อที่ผมถามเอง ท่านก็ใช้บทคาถากับกรรมฐานหรือสามธิในการเสกทั้งนั้น

อุดธังอัดโธ โธอุดทังอัด  แล้วจะเรียง สลับไปมา แค่เนี้ย วนไปมาๆ ก็เป็นหมาอุดได้และ เป็นอุบายเพื่อให้จิตสงบครับ แล้วแต่ระดับ เป็นปิติ  หรือเข้าปฐมญาณ หรือไปแต่ละระดับ
แต่ละบท ถ้าคุณมาถอดความหมายก็พระรัตนตรัยทั้งนั้น เป็นคำนสอนบ้าง
ดูอย่างคาถาไล่ผี ที่แปลมาให้เณรไปยืนหน้าประตู ก็ขลังและ


แต่คาถา ต้องใช้แรงครู  แรงครู คืออะไร อะไรคือแรงครู อิอิ บางบทเราใช้เองไม่ได้ต้องให้เจ้าของอนุญาติก่อน ต้องทำตามพิธีการถูกต้อง
ซึ่งบางบทจะมีเกี่ยวกับเทพด้วยนะครับ

เอาเป็นว่าคาถาแต่ละบทท่องไปเถอะครับ ท่องแล้วจิตใจสงบไม่สงสัยไม่แครงใจ ก็ขลังทั้งนั้นหละครับ

ส่วนการสวดมนต์ก็จะแยกครับ 1.เพื่อให้จิตไม่ฟุ้งซ่าน 2. ถ้าแปล เพื่อสรรเสริญ หรือ ก็จะเป็นคำสอน  หรือการขอบารมี หรืออัญเชิญ แล้วแต่ละบทไป หรือเป็นการแผ่ เมตตา

ขออภัยครับ กดแก้ไข ดันเป็นกดอ้างข้อความมาซะงั้น
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 27 พ.ค. 2553, 11:33:29 โดย เอ็มเมืองไร่ขิง »

ออฟไลน์ อภิรัตน์

  • เห็นรอยเท้าพ่อก้มลงดู เห็นรอยเท้าครูก้มลงกราบ
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 692
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: พระคาถา
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: 27 พ.ค. 2553, 01:10:36 »
เป็นอุบายเพื่อให้จิตสงบครับ (จากคุณเอ็ม ) อันนี้ตรงกันกับที่ผมทำอยู่เลยครับ เวลาที่ท่องบทสวดมนต์พระคาถาหรือคาถา ต้องสำรวมจิต เริ่มต้นโดยจิตอยู่กับเนื้อคำของคาถาไม่วอกแวก จังหวะการหายใจ เป็นเหมือนกุญแจทำให้จิตเรานิ่ง จนเกิดเป็นสมาธิ บางที่รู้สึกนั่งแป๊บๆเดียว ลืมตามา ชั่วโมงกว่าๆแล้ว สดชื่นและปรอดโปร่ง เหมือนติดแล้วเดี๋ยวนี้ ทั้งเช้าและก่อนนอนครับ  :050: