ผู้เขียน หัวข้อ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)  (อ่าน 1258 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 10:32:25 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

1....

ตามดูจิต(หลวงปูชา)

บัดนี้เปนโอกาสที่พวกเราทั้งหลายจะไดมีการอบรมธรรมปฏิบัติกัน พระบรมศาสดาทานกลาวถึงการปฏิบัติไววา บุคคลที่ยังไมไดรับการอบรมปฏิบัติก็จะไมเขาใจในธรรม ไมเขาใจในธรรมชาติที่มันเปนอยูหรือในสัญชาตญาณที่คูกับเราแตเกิด ธรรมชาติอันนี้หรือสัญชาติญาณอันนี้มันเกี่ยวของกันกับชีวิตของเราตลอดเวลา เราจะเรียกวาของที่มันเปนอยูก็ไดเรียกวาสัญชาติญาณก็ไดมันมีความเฉลียวฉลาดอยูในนั้น ซึ่งชวยปองกันรักษาตัวมันเองมาตลอด สัตวทุกจําพวกเมื่อเกิดมันตองรักษามันแหละ การรักษาตัว ปกปองชีวิต ปองกันอันตรายทั้งหลาย แสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิต นี้เหมือนกันหมด เชน สัตวเดรัจฉาน มันก็กลัวอันตราย แสวงหาความสุข เหมือนกันกับสัญชาตญาณมนุษยเรา
อันนี้ทานเรียกวาเปนธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ จะมารักษาตัวมันตลอดเวลา ธรรมชาตินั่นเอง ธรรมชาติเรื่องกายหรือเรื่องจิตใจ

     เราจะตองมารับการอบรมใหม เปลี่ยนใหม     ถาหากวาเรายังไมไดรับการอบรมบมนิสัย ก็คือยังเปนของที่ไมสะอาด ยังเปนของที่
สกปรก เปนจิตใจที่เศราหมองเหมือนกันกับตนไมในปา ซึ่งมันเกิดมามันก็เปนธรรมชาติ ถาหากวามนุษยเราตองการจะเอามาทําประโยชนดีกวานั้น ก็ตองมาดัดแปลง สะสาง ธรรมชาติอันนี้ใหเปนของที่ใชไดเชนโตะนี้หรือบานเรือนของเรานั้น เกิดจากเราสามารถเอาธรรมชาติมาทําเปนที่อยูอาศัย เปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติอันนั้นมา มนุษยชาตินี้ก็เหมือนกัน ตองมาปรับเปลี่ยนใหม ในทางพุทธศาสนานี้เรียกวา พุทธศาสตร

      พุทธศาสตรคือความรูทางพุทธศาสนา สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงความรูสึกของพวกเราทั้งหลาย ซึ่งมันติดแนนอยูในอันใดอันหนึ่ง เชน เราเกิดมามีชื่อเสียงเรียงนามมาตั้งแตวันเกิด เชนวา เรียกวาตน ตัวเรา ของเรา นี้สมมุติกันขึ้นมาวารางกายของเรา จิตใจของเรา ซึ่งสมมุติชื่อขึ้นมาจากธรรมชาตินั่นเอง พวกเราทั้งหลายก็ติดแนนอยูในตัวเรา หรือในของของเรา เปนอุปาทานโดยที่ไมรูเนื้อรูตัว เปนอยางนี้ในทางพุทธศาสนานั้นทานสอนใหรูยิ่งเขาไปกวานั้นอีก ทําจิตใจใหสงบใหรูยิ่งเขาไป ยิ่งกวาธรรมชาติที่มันเปนอยู จนเปนเหตุใหไมยึดมั่นถือมั่นในอัตตาตัวตนอันนี้พูดตามชาวโลกเราวาตัววาตน วาเราวาเขา ทางพุทธศาสนานั้นทานเรียกวา ตัวตนเราเขาไมมีนี่คือมันแยงกัน มันแยงกันอยูอยางนี้ตัวเราหรือของเราซึ่งพวกเราเขาใจกันตั้งแตเราเกิดมาจนรูเดียงสา จนเกิดเปนอุปาทานมาตลอดจนทุกวันนี้อันนี้ก็เปนเครื่องปกปดธรรมอันแทจริง อันพวกเราทั้งหลายไมรูเนื้อรูตัว ฉะนั้นในทางพุทธศาสนาทานจึงใหมาอบรม

     การอบรมในทางพุทธศาสนานั้น เบื้องแรกทานวาใหเปนคนซื่อสัตยสุจริต ตามบัญญัติทานเรียกวาใหพากันรักษาศีล เปนเบื้องแรกเสียกอน นี่ขอประพฤติปฏิบัติจนเปนเหตุไมใหเกิดโทษ ไมใหเกิดทุกขทางกายและทางวาจาของเรา อยางที่เราทั้งหลายอบรมกันอยู ใหอายและกลัว ทั้งอายทั้งกลัว อายตอความชั่วทั้งหลาย อายตอความผิดทั้งหลาย อายตอการกระทําบาปทั้งหลาย รักษาตัวกลัวบาป เมื่อจิตใจของเราพนจากความชั่วทั้งหลาย พนจากความผิดทั้งหลาย ใจเราก็เยือกเย็น ใจเราก็สบาย ความสบายหรือความสงบอันเกิดจากการประพฤติปฏิบัติซึ่งไมมีโทษนั่นก็เปน สมาธิขั้นหนึ่งที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทานตรัสวา สพฺพปาปสฺส อกรณํกุสลสฺสูปสมฺปทาสจิตฺตปริโยทปนํเอตํพุทธานสาสนํ ทานวาเปนหัวใจของพุทธศาสนา

      สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไมทําบาปทางกาย ทางวาจา คือ การไมทําผิดทําชั่ว ทางกาย ทางวาจา อันนี้เปนตัวศาสนา เปนพระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย หรือ เอตํพุทธานสาสนํ
  
      กุสลสฺสูปสมฺปทา เมื่อมาทําจิตของตนใหสงบ ระงับจากบาปแลว ก็เปนจิตที่มีกุศลเกิดขึ้นมา เอตํพุทธานสาสนํอันนี้เปนคําสอนของทานหรือเปนหัวใจของพุทธศาสนาเหมือนกัน

      สจิตฺตปริโยทปนํ การมาทําจิตใจของตนใหผองใสขาวสะอาด เอตํพุทธานสาสนํอันนี้เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจา หรือเปนหัวใจของพุทธศาสนาอีกประการหนึ่ง

     ทั้งสามประการนี้เปนหัวใจของพุทธศาสนา ก็ประพฤติปฏิบัติอันนี้ซึ่งมันมีอยูในตัวเราแลว กายก็มีอยู วาจาก็มีอยู จิตใจก็มีอยูองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทานจึงใหปฏิบัติใหพิจารณาตัวในตัว ในของตัว ซึ่งมันมีอยูของทั้งหมดที่เราศึกษาเราเรียนกันนั้นมันจะมารูความเปนจริงที่ตัวของเรา ไมไปรูอยูที่อื่น
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 05 พ.ค. 2554, 11:00:04 โดย ทรงกลด »
เว ทา สา กุ กุ สา ทา เว....ทา ยะ สา ตะ ตะ สา ยะ ทา...สา สา ทิ กุ กุ ทิ สา สา...กุ ตะ กุ ภู ภู กุ ตะ กุ

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:09:45 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

2...
 เบื้องแรกก็รูจากการไดฟงที่เรียกวา สุตมยปญญา การไดฟง การไดยินอันนี้ก็เปนเหตุใหรูเปนเหตุใหเกิดปญญาเชนวา สมมติวาวันนี้เราเพิ่งไดยินวาสีขาว แตกอนนี้เราไมเคยไดยิน ที่นี้เมื่อเรารูวาสีขาวมันเปนเชนนี้เราก็คิดไปอีก สีอื่นจะไมมีหรือ หรือสีขาวจะแปรเปนสีอื่นจะไดหรือไม เปนตนนี่เรียกวา จินตามยปญญา หรือวาเราคิดไป ก็ไปคิดลองดูเอาสีดํามาปนในสีขาว มันก็เกิดเปนสีอื่นขึ้นมาอีก เปนสีเทาอยางนี้เปนตน การที่เราจะไดรูจักสีเทาตอไปนั้น ก็เพราะวาเรา คิด ปญญาเกิดจากการคิด การวิพากษวิจารณเราเลยรูสูงขึ้นไปกวาสีขาว รูสีเทาเพิ่มขึ้นไปอีก ปญญาเกิดจากสิ่งทั้งสองนี้

      นี้เปนปญญาที่เปนโลกียวิสัย ซึ่งชาวโลกพากันเรียนอยูทั้งเมืองไทย จะไปเรียนนอกมาก็ตาม มันก็คงอยูในสุตมยปญญา จินตามยปญญาเทานั้น อันนี้เปนโลกียวิสัย พนทุกขไมไดพนทุกขไดยาก หรือพนไมไดเลยทีเดียว เพราะเมื่อรูสีขาว สีเทาแลว ก็ไปยึดมั่น(อุปาทาน) ในสีขาว สีเทาอันนั้น แลวจะปลอยวางไมไดเชนวา เราเกิดอารมณขึ้นมา ไดยินเขาวาเราไมดีเรียกวานินทา อดเสียใจไมไดอดนอยใจไมไดเขาไปยึดมั่นถือมั่น
(อุปาทาน) ในอารมณอันนั้น เปนเหตุใหเกิดทุกขขึ้นมาเพราะ อุปาทาน นี้เรียกวาการรูหรือการเห็นจากการไดฟง มันจะพนทุกขไมไดหรือวาเขาสรรเสริญเรา มันอดดีใจไมไดแลวก็เขาไปยึดมั่นถือมั่นในความดีนั้นอีก ไมไดตามปรารถนาแลวก็ทุกขอีก สุขแลวก็ทุกขทุกขแลวก็สุข ดีแลวก็ชั่ว ชั่วแลวก็ดีเปนตัววัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนแปรไปไมจบ อันนี้เปนโลกียวิสัย เชนที่ปรากฏอยูในโลกทุกวันนี้เราเคยรูเคยเห็น จะเรียนไปถึงที่สุด
อะไรที่ไหนก็ตาม มันก็ยังทุกขเอาทุกขออกจากตัวไมไดนั่นเปนปญญาโลกียละทุกขไมไดไมพนจากทุกขความร่ํารวยเศรษฐีหรือมหาเศรษฐีที่อยูในโลกนี้มันก็ไมพนจากความทุกขเพราะมันเปนโลกียวิสัย ปญญาทั้งสองประการนี้ทานยกใหโลก ปกครองกันอยูในโลก วุยวายกันอยูในโลก ไมมีทางจบ ถึงแมจะจนมันก็ทุกขถึงแมจะรวยแลวมันก็ยังทุกขอยูอีก ไมพนไปจากทุกข

        ปญญาโลกุตตระที่จะเกิดขึ้นมาตอไป เปนความรูของพุทธศาสนา ซึ่งเปนโลกุตตระ พนจากทุกขพนจากวัฏฏสงสาร อันนี้ทานพูดถึงการอบรมจิตใจ (ภาวนา) ไมตองอาศัยการฟง ไมตองอาศัยการคิด ถึงฟงมาแลวก็ดีถึงคิดมาแลวก็ดีเมื่อภาวนาทิ้งมัน ทิ้งการฟงไวทิ้งการคิดเสียเก็บไวในตูแตมาทําจิต (ภาวนา) อยางที่พวกเรามาฝกกันอยูทุกวันนี้หรือเรียกวาทํากรรมฐาน ที่โบราณาจารยทั้งหลายทานแยกประเภทสวนแหงการกระทํา แยกขอประพฤติปฏิบัติเรียกวา สมถกรรมฐาน และวิปสสนากรรมฐาน
     
                     สมถวิปสสนาเปนแนวทางที่ใหพวกเราทั้งหลายปฏิบัติใหเปนโลกุตตรจิต ใหพนจากวัฏฏสงสาร เชนวาเรานั่ง ไมตองฟง และไมตองคิด ตัดการฟง ตัดการคิดออกและยกสวนใดสวนหนึ่งขึ้นพิจารณา เชน เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ หรือเรายกอานาปานสติ
คือ หายใจเขานึกวา พุท หายใจออกนึกวา โธ ในเวลาที่เราทํากรรมฐานอยูนั้นในเวลาที่เรากําหนดลมอยูนั้น ทานไมใหสงจิตไปทางอื่น ใหกําหนดรูลมหายใจเขาออกอยางเดียว ออกไปแลวเขามา เขามาแลวก็ออกไป ไมตองอยากรูอะไรมาก ไมตองอยากเห็นอะไรตอไป ใหจิตของเรารูเฉพาะลมที่มันเขาหรือมันออก เรียกวาการกําหนดลม เปน อานาปานสติ
     
   การกําหนดลมนี้บางคนกําหนดไมไดการกําหนดลมเราจะตองเอาสภาวะที่มันเปนอยู
หายใจเขา ยาว หายใจออก สั้น เทาไร อันนั้นไมเปนประมาณ เปนประมาณที่วามันสบาย
อยางไร หายใจแรงหรือมันคอย หรือมันยาว หรือมันสั้น เราจะตองทดลองหายใจดูมัน
ถูกจริตที่ตรงไหน มันสบายอยางไร ลมไมขัดของ จะกําหนดตามลมก็สบายสะดวก
ตัวอยางเชน เราฝกเย็บผาดวยจักร เราก็ควรเอาจักรมาลองเอาเทาเราถีบจักรเขา ถีบจักร
เปลายังไมตองเย็บผา ใหมันชํานาญเสียกอน เมื่อเทาเราชํานาญพอสมควรแลวคอยเอาผา
มาใส เย็บไปพิจารณาไป
     การกําหนดลมหายใจนี้ก็เหมือนกัน ก็หายใจเบาๆ เสียกอน ไมตองกําหนดอะไร มันยาว มันสั้น มันหยาบ มันละเอียด มันสบายอยางไร อันนั้นเปนจริตของเรา ความพอดีของมันนั้น ไมยาว ไมสั้น พอดีเรากําหนดเอาอันนั้นเปนประมาณ นี้เรียกวาใหกรรมฐานถูกจริต แลวคอยๆ ปลอยลมออกไป แลวก็สูดลมเขามา เราจะกําหนดวา เมื่อลมเขาตนลมอยูปลายจมูก กลางลมอยูหทัย ปลายลมอยูสะดือ เมื่อเราหายใจออก ตนลมอยูสะดือกลางลมอยูหทัย ปลายลมอยูจมูก ใหเรากําหนดอยางนี้เสียกอน แลวก็สูดลมเขาผานปลายจมูก หทัย สะดือ เมื่อออกตั้งตน สะดือ หทัย ปลายจมูก เปนตน ทําอยูแตอยางนี้แหละ ไมตองสนใจอื่น

     เมื่อเวลาเราทํา (สมถ) กรรมฐาน คือกําหนดลมไมตองพิจารณาอะไร เอาสติประคองจิตของเรา ใหรูตามลมเขาออกเทานั้น ไมตองสนใจอยางอื่น ไมตองพิจารณาอยางอื่นลมก็สบายไมขัดของ ลมเขาก็สบาย ลมออกก็สบาย เอาความรูสึกที่เรียกวา สติสติตามลม สวนสัมปชัญญะก็รูอยูวาสติเราตามลม ขณะที่เรากําลังทําอยูนั้น มีสติแลวก็มีลมมีสติตามลม เราจะมองดูในที่อันนั้น เราจะรูลม เห็นลม วามันยาวสั้นประการใด เห็นลมและมี
สติอยูวาเรารูลม แลวก็เห็นจิตของเราตามลม เห็นทั้งลม เห็นทั้งสติเห็นทั้งจิต 3 ประการรวมกัน หายใจเขาก็รวม หายใจออกก็รวม รูสึกอยูอยางนี้มันจะเปนอะไรบางตอไป อยาคิดไป มันจะมีอะไรบางตอไป อยาคิดไป ทําอยางนี้มันจะดีจะเปนอยางไรตอไปไมตองคิด เรียกวากําหนดลมเขาออกสบาย

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:17:49 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

3....
เมื่อหากวาจิตของเรากําหนดอารมณกับลมหายใจถูกแลว มันจะไมขัดของ ลมกไมขัดของ ผูรูก็ไมขัดของ ทุกอยางทุกสวนก็ไมขัดของ เราเพียงแตรูอันเดียวเทานั้นแหละ คือรูแตเพียงลมหายใจเขาออก คือกําหนดรูวา ตนลมคือจมูก กลางลมคือหทัย ปลายลมคือสะดือ เมื่อลมมันถอนออกมาตนลมอยูสะดือ กลางลมอยูหทัย ปลายลมอยูจมูก 3 ประการนี้เรานั่งพิจารณากําหนดรูอยูเชนนั้น ใหมันรูทั้ง 3 นี้เสมอเรียกวาเรามีสติเต็มที่ของเรา มีผูรูควบคุมสติอันนั้นอยูเต็มที่เชนนี้เรียกวาเราทํา(สมถ) กรรมฐาน จนกวาจิตเรามันสงบ

     เมื่อจิตเราสงบ กายมันก็เบา ใจมันก็เบา ลมมันก็ละเอียด เมื่อเรามีลมอันละเอียดแลว ก็ไมตองตามลม เพราะการตามลมเขาไป มันเปนอารมณหยาบ เมื่อไมอยากจะตามเสียแลวเอาสติกําหนดที่ปลายจมูกของเรานี้พอแตรูวามันเขา พอแตรูวามันออก เทานี้ก็พอแลวจิตสบาย กายก็เบาใจสงบ ลมก็ละเอียด อันนี้จิตเปนสมาธิรูตามลมอยางเดียวเมื่อมันละเอียดเต็มที่เขาไปนั้น มันจะเกิดความละเอียดขึ้นมาใจใจของเราอีก ลมที่เรากําหนดอยูนี้มันจะหายไป มันจะไมมีลม ที่จริงมันมีอยูหรอกแตมันละเอียดที่สุดจนกําหนดไมไดก็เลยเกิดเปนคนไมมีลม นั่งเฉยๆ อยูนึกวาไมมีลม

     ตอนนี้พระโยคาวจรเจามักจะตกใจ กลัววาเราไมมีลมกลัววาเราจะเปนอะไรไป ถาลมไมมีแลวจะเอาอะไรเปนอารณตอไปอีก เราจะตองเอาความรูสึกวาลมไมมีนั่นแหละเปนอารมณตอไป ไมเปนโทษ ไมเปนอันตราย เราทําจิตของเราใหรูวาไมมีลมเขาไป ถึงกาลถึงเวลาแลวเปนเอง อันนี้ไมตองกลัว ไมตองสะดุง จะเปนไปอยางไรก็ตาม ก็รู้ รูใจของเราที่มันเปนอยางไร กําหนดจิตเขาไปวารูอยางไร จะไมมีอันตรายแตอยางใด อันนี้เปน
อารมณของการกระทําจิตใหสงบ(สมถ)เบื้องแรก

     พูดถึงความสงบ(สมถ) พอมันสงบแลวก็มีสวนที่มันไมสงบมาปะปนเขา เชนวา เราเพิ่งมาฝกจิตของเราเดือนหนึ่ง 10 วัน 5 วัน โดยมากมันก็ยังไมสงบ ถามันไมสงบนั้น ไมตองนอยใจ มันเปนเรื่องธรรมดาของมัน เรื่องจิตอันนี้มันจะอยูนิ่งๆ ในที่ของมันไมไดหรอก บางทีมันมีอาการคิดอยางโนนคิดอยางนี้ในขณะอยูในที่สงบอันนั้นแหละบางคนก็จิตไมสงบ จิตฟุงซาน ใจก็ไมสบาย ใจเขาก็ไมดีเพราะวาจิตไมสงบ อันนี้เราตองพิจารณาดวยปญญาของเรา เรื่องไมสงบอันนั้นเพราะเราไมรูตามความเปนจริงของมันเทานั้นเอง ถาเรารูตามความเปนจริงของมันแลว อันนั้นสักแตวาอาการของจิต จริงๆ แลวจิตมันไมฟุงไปอยางนั้น เชนวา เรารูความคิดแลววา บัดนี้เราคิดอิจฉาคน นี้เปนอาการของจิตแตเปนของไมจริง มันไมเปนความจริง เรียกวาอาการของจิตมันมีตลอดเวลา ถาหากคนไมรูตามความเปนจริงของมันแลวก็นอยใจวาจิตเราไมอยูนิ่ง จิตเราไมสงบ อันนี้เราตองใชการพิจารณาอีกทีหนึ่งใหมันเขาใจ เรื่องของจิตนั้นนะ มันเปนเรื่องของอาการของมัน แตที่สําคัญคือ มันรูรูดีมันก็รูรูชั่วมันก็รูรูสงบมันก็รูรูไมสงบมันก็รูอันนี้คือตัวรูพระพุทธเจาของเราทานใหตามรูตามดูจิตของเรา

     จิตนั้นคืออะไร จิตนั้นอยูที่ไหน ทุกคนที่นั่งอยูที่นี่เราก็คงรูตัวของเรา ความรูที่มันรูนี่มันรูอยูที่ไหน จิตก็เหมือนกัน จิตนี้คืออะไร มันเปนธรรมชาติหรือเปนสัญชาตญาณอันหนึ่งที่มันมีอยูอยางที่เราไดยินอยูเดี๋ยวนี้แหละ มันมีความรูอยูความรูนี้มันอยูที่ไหนในจิตนั้นมันเปนอยางไร ทั้งความรูก็ดีทั้งจิตก็ดีเปนแตความรูสึก ผูที่รูสึกดีชั่ว เปนสักแตวาความรูสึก รูสึกดีหรือชั่ว หรือรูสึกผิดหรือถูก คนที่รูสึกนั้นแหละเปนคนรูสึกตัวรูสึกตัวมันคืออะไร มันก็ไมคืออะไร ถาพูดตามสวนแลวมันเปนอยูอยางนี้ถารูสึกผิดไปก็ไปทําผิดมัน รูสึกถูกก็ไปทําถูก ฉะนั้นทานจึงใหเกิดความรูสึกขึ้นมาเรื่องจิตของเรานั้น
มันเปนอาการของจิต เรื่องมันคิดมันคิดไปทั่ว แตผูรูคือปญญาของเราตามรูตามรูอันนั้นตามเปนจริง

               ถาเราเห็นอารณตามเปนจริงของเราแลว มันก็เปลี่ยนไปอีกประเภทหนึ่ง (วิปสสนากรรมฐาน) เชนวา เราไดยินวารถทับคนตายเปนตน เราก็เฉยๆ ความรูชนิดนี้มันก็มีแตมันรูไมเห็น รูไมจริง รูดวยสัญญา (ความจํา) ขนาดนี้มันรูอยางนี้ทีนี้ถาหากวาเดินไปดูซิ
รถมันทับคนตายที่ไหนไปเห็นรางกายคนนั้นมันเละหมดแลว อันความรูครั้งที่สองนี้ มันดีขึ้นเพราะมันไปเห็น เห็นอวัยวะที่ถูกรถทับ มันเกิดสลดเกิดสังเวช ความรูที่เห็นดวยตามันมีราคายิ่งกวาเขาวา

     เมื่อเราไปเห็นทุกสิ่งอันนี้มันเปนอนิจจัง ทุกขังอนัตตา ไมแนไมนอน ในรางกายนี้ไมเปนแกนเปนสาร ไมสดไมสวย ความรูสึกนึกคิดมันคนในเวลานั้นมันก็เกิดปญญา(วิปสสนา) เปนเหตุใหถอนอุปาทาน (ความยึดมั่นถือมั่น) ออกไดเรียกวาความรูสึกอันนี้มันสูงขึ้น สูงขึ้น ๆตองพิจารณา เชนนี้

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:40:13 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

4.....
การทํากรรมฐาน ถาไมรูจักแลวก็จะลําบาก บางคนก็ไมเคยทํา เมื่อมาทําวันสองวันสามวัน มันก็ไมสงบ มันก็เลยนึกวา เราทําไมไดเราตองคิดวา เมื่อเราเกิดมาเคยถูกสอนหรือยัง เราเคยทําความสงบหรือเปลา เราปลอยมานานแลว ไมเคยฝกเคยหัดมัน มาฝกมันชั่วระยะหนึ่งอยากใหมันสงบอยางนั้นเหตุมันไมพอ ผลมันก็ไมมีเปนเรื่องของธรรมดาเปนเรื่องอันตัวเราทานทั้งหลายจะหลุดพน ตองอดทน การอดทนเปนแมบทของการประพฤติปฏิบัติ

     ใหเห็นกาย ใหเห็นใจ เมื่อรูจักธรรมตามความเปนจริงแลวนั่น ความที่เรายึดมั่นถือมั่น(อุปาทาน) แตกอนๆ มันจึงจะผอนออก เห็นตามความเปนจริงของมันอุปาทานมั่นหมายในความดีความชั่วทั้งหลายมันจะคลายออก คลายออก เห็นวามันเปนอนิจจัง เปนทุกขังเปนอนัตตา เปนของไมแนไมนอน

     ที่มันเกิดมีในจิตของเรานี้นั้น ลองดูซิความรักมันแนไหม มันก็ไมแนความเกลียดมันแนไหม ความสุขมันแนไหม มันก็ไมแนความทุกขมันแนไหม มันก็ไมแนอันไมแนนั้นเรียกวาของไมจริง เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่ออันนี้มันไมจริง ของจริงมันอยูที่ไหนของจริงอยูที่มันเปนอยูอยางนั้น มันไมเที่ยงอยูอยางนั้น เปนทุกขอยูอยางนั้น มันจริงแตสักวา มันเปนของมันอยูอยางนั้น อันนี้คือความจริง ความจริงอยูตรงที่มันไมจริง อันความเที่ยงอยูตรงที่มันไมเที่ยง เหมือนกันกับของสกปรกมันเกิดมีขึ้นความสะอาดอยูตรงไหน มันอยูตรงที่สกปรกนั่นแหละ เอาสกปรกออกก็เห็นความสะอาดฉันใด จิตใจของเรานี้ก็เหมือนกันฉันนั้น

                  การประพฤติปฏิบัตินี้บางคนปญญามันนอยบางคนปญญามันมาก ไมทันกัน ไมเห็นเหมือนกัน อยางเราไปพบวัตถุอันหนึ่ง 2 คนหรือ 3 คนไปพบแกวใบหนึ่งบางคนก็เห็นวามันสวย บางคนจะเห็นวามันไมสวย บางคนจะเห็นวามันโตไป บางคนจะเห็นวามัน
เล็กไป นี่ทั้งๆ ที่แกวใบเดียวกันนั่นเอง ทําไมไมเหมือนกัน แกวใบนั้นมันเหมือนของมันอยู แตความเห็นของเรามันไมเหมือนกัน มันเปนเชนนี้ฉะนั้นมันจึงไมเหมือนกันอยูที่ตรงนี้การประพฤติปฏิบัติทางพุทธศาสนานี้ก็เหมือนกัน พระพุทธเจาทานสอน อยาใหมันชา อยาใหมันเร็ว ทําจิตใจใหพอดีการประพฤติปฏิบัตินี่ไมตองเดือนรอน ถามันเดือดรอนเราก็ตองพิจารณา เชนวาเราจะปลูกตนไมตนหนึ่งขึ้นมา ตนไมที่จะปลูกนั้นก็มีอยูก็ขุดหลุม ก็ปลูก เอาตนไมมาวางลงหลุมนั้นก็เปนหนาที่ของเราจะมูนดิน จะใหปุย จะใหน้ำ จะรักษาแมลงตางๆ ก็เปนเรื่องของเรา เปนหนาที่ของเรา คนจะทําสวนตองทําอยางนี้ทีนี้เรื่องตนไมมันจะโตเร็วโตชาของมันนั้นนะ มันไมใชเรื่องของเรามันเปนเรื่องของตนไมถาเราไมรูจักหนาที่การงานของตัวแลวมันก็ไปทํางานหนาที่ของตนไมมันก็ทุกขไมทํางานหนาที่ของเรา หนาที่ของเราก็ใหปุยมันไป ใหน้ํามันไป รักษาแมลงไมไปเทานี้สวนตนไมจะโตเร็วโตชาเปนเรื่องของตนไมถาเรารูจักหนาที่การงานของเราเชนนี้ภาวนา(ฝกจิต) ก็สบายถาเราคิดเชนนี้การปฏิบัติของเราก็สบาย งาย สะดวก ไมดิ้นรน
กระวนกระวาย นั่งมันสงบก็ดูความสงบไป ที่มันไมสงบก็ดูความไมสงบไป ที่มันสงบนั้น มันก็เปนเรื่องของจิต มันเปน อยางนั้น ที่มันไมสงบ มันก็เปนเรื่องของมันอยางนั้น ไมไดเปนอยางอื่นมันสงบแลว มันก็สงบไป ถาไมสงบก็ไมสงบไป เราจะไปทุกขเพราะมันไมสงบไมได เราจะไปดีใจเพราะจิตสงบมันก็ไมถูก เราจะไปเสียใจเพราะจิตมันไมสงบก็ไมถูกเหมือนกัน เราจะไปทุกขกับตนไมไดหรือไปทุกขกับแดดไดหรือ ไปทุกขกับฝนไดหรือไปทุกขกับอยางอื่นไดหรือ มันเปนเรื่องของมันอยูอยางนั้น

     ถาเราเขาใจเชนนี้แลว การภาวนาของพระโยคาวจรนั้นก็สบายแลว เดินทางเรื่อยๆ ไปปฏิบัติไป ทําธุระหนาที่ของเราไป เวลาพอสมควรเราก็ทําของเราไป สวนมันจะไดจะถึงหรือมันสงบนั้น ก็เปนวาสนาบารมีของเรา เหมือนกับชาวสวนปลูกตนไมหนาที่ของเราใสปุยก็ใสมันไป รดน้ําก็รดมันไป รักษาแมลงก็รักษามันไป เรื่องตนไมจะโตเร็วโตชาไมใชเรื่องของเราเปนเรื่องของตนไมละปลอยทั้งสองอยางนี้รูจักหนาที่ของเรารูจักหนาที่ของตนไมมันถึงเปนชาวสวนที่มีความสดชื่นดีฉันใดผูมีปญญา ผูที่ภาวนาในพุทธศาสนานี้ก็เหมือนกันฉันนั้น พอจิตคิดเชนนี้ความพอดีมันตั้งขึ้นมาเอง พอความ
พอดีมันตั้งขึ้นมาก็เลยเปนปฏิปทา ปฏิปทาที่พอดีเกิดขึ้นมา ความเหมาะสมมันก็เกิดขึ้นมา อารมณเหมาะสมมันก็เกิดขึ้นมา ความรูสึกนึกคิดเกิดขึ้นมาแลว มันเปนสิ่งที่เหมาะสมแลว เปนสัมมาปฏิปทา ปฏิบัติไมหยอน ปฏิบัติไมตึง ปฏิบัติไมเร็ว ปฏิบัติไมชา จิตใจปลอยไปตามสภาวะของมัน อันนั้นคือภาวนาสงบแลว สบายแลว

     ความรูสึกนึกคิดของเราไปมีอุปาทานมั่นหมายมันขึ้นเมื่อไร มันก็เปนทุกขเมื่อนั้นฉะนั้น ในการประพฤติปฏิบัติทานจึงใหปลอยวาง เชนวา เราอยูดวยกันหลายๆ คนนี้นะตางบาน ตางตระกูล ตางตําบล ตางจังหวัด ที่มารวมๆ กันนี้ถาเรารูคนในนี้ในศาลานี้ก็สงบแลว ภาวนาเราก็สบาย เรื่องคนนี้ก็ใหคนนี้เรื่องคนนั้นก็ใหคนนั้น ใหคนละคนละคนไปเรื่อย ๆ ไป เราก็สบาย เรื่องทุกสิ่งทุกอยางก็ปลอยไป ไมตองไปวิพากษวิจัยเรื่องคนอื่น ไมตองไปวิพากษวิจัยเรื่องนอกกายนอกใจเราแลว มันก็เกิดความสงบความสบายขึ้นมา เพราะความรูตามเปนจริงเกิดขึ้นมา

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:53:04 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

5.....
                        เราตองการธรรมไปทําไม ตองการธรรมไปเพื่อรูตามความเปนจริงเทานั้นเอง ถึงแมมันจะจน ถึงแมมันจะรวย ถึงแมมันจะเปนโรค ถึงแมมันจะปราศจากโรค จิตก็อยูอยางนั้นเอง เชนวา วันหนึ่งตัวเรามันไมสบายขึ้นมาจะเห็นชัดในจิตของเราวา มันก็นึกกลัวตาย กลัวมันจะไมหายใจก็ไมสบายเกิดขึ้นมาแลว ความไมสบายเกิดขึ้นมาแลว คือไมอยากจะตาย อยากใหมันหาย อันนี้เห็นแงเดียว ตามธรรมชาติของมันแลว ถามันเกิดปวยขึ้นมา เกิดอาพาธขึ้นมาเราก็รูวา เปนก็เปน ตายก็ตาย หายก็หาย ไมหายก็ไมหาย ถาเราคิดไดเชนนี้มันเปนธรรม เอาทั้งสองอยางนั่นแหละ หายก็เอามัน ไมหายก็เอามัน เปนก็เอามัน ตายก็เอามัน

                     อันนี้ถูก แตวามันจะมีสักกี่คน นั่งฟงธรรมอยูนี่มันมีกี่คนปวยมาแลว ตายก็ตาย หายก็หาย มีกี่คนก็ไมรูที่มันอยากจะหาย ไมอยากจะตาย อันนี้มันคิดผิด เพราะมันกลัวเพราะมันไมเห็นธรรม มันจึงทุกขถาเห็นสังขารรางกายแลวไมวามันละ หายก็หาย ตายก็ตาย
เอาทั้งสองอยาง ไมเอามันก็ตองไดอะไรสักอยางจนได

     เมื่อเรารูจักธรรมเชนนี้รูจักสังขารเชนนี้เราก็พิจารณาตามสังขารวามันเปนอยางนั้นนี่กรรมฐานมันตั้งขึ้นมาแลว มันพนทุกขอยางนี้เอง ไมใชวามันไมตาย ไมใชวามันไมเจ็บ ไมใชวามันไมไข ั อนเรื่องเจ็บเรื่องไขมันเปนเรื่องของสังขาร เปนไปตามเรื่องของมัน ถึงคราวมันจะตาย ไมอยากตายเทาไหรมันก็ตาย ถึงคราวมันจะหาย ไมอยากจะใหหาย มันก็หาย อันนี้มันไมใชธุระหนาที่ของเราแลว มันเปนธุระหนาที่ของสังขาร ถาเราภาวนาเห็นเชนนี้จิตมีอารมณเห็นเชนนี้ทุกขณะ จิตก็ปลอยวางสบาย

      การภาวนานั้นไมใชวานั่งหลับตาภาวนาอยางเดียวการภาวนานั้นตลอดเวลา การยืนการเดิน การนั่ง การนอน ใหมีสติประคับประคองอยูเสมอเลยทีเดียว

     บัดนี้มีความทุกขเกิดขึ้นมาแลว ก็ทวนดูซิอันนี้มันก็ไมแนนอนหรอก เรื่องมันไมจริงทั้งนั้นนะ เราตองเตือนอยูเชนนี้เมื่อมันมีสุขเกิดขึ้นมาแลว สุขนี้มันก็ไมแนเหมือนกันนั่นแหละเคยสุขมาแลวมันก็เปนอยางนั้นแหละ เดี๋ยวมันก็ทุกขเดี๋ยวมันก็สุข เปนของไมแนนอนทั้งนั้น ถาเราเห็นอารมณเมื่อใดถูกอารมณขึ้นมาเมื่อใด มันจะดีใจ เราก็ตองบอกมัน เตือนมัน วาความดีใจมันก็ไมแนนอนหรอก เปนแตความไมจริงทั้งนั้นแหละ มันหลอกลวงทั้งนั้น เมื่อความทุกขเกิดขึ้นมา ก็วามันไมแนนอน เปนสิ่งที่หลอกลวงทั้งนั้นแหละ เปนความรูสึกเทานั้นแหละ

     ความเปนจริงแลว ความสุขหรือความทุกขนั้นไมมีมันมีแตความรูสึก รูสึกวาสุข รูสึกวาทุกขถามีความชอบใจก็รูสึกวาสุข ไมชอบใจก็รูสึกวาทุกขตัวสุขตัวทุกขจริงๆ มันไมมีมันเปนแตเพียงความรูสึก ถาเราคิดไดเชนนี้เราก็เห็นของปลอมตลอดเวลา รูจักอารมณอารมณอันนี้ก็ไมตองวาไปสอบอารมณการภาวนาไมตองไปสอบอารมณ เมื่อเรามีสติตลอดเวลา ทุกวันทุกนาทีมันจะรูจักอารมณเมื่อเราทําผูรูใหตื่นอยูเสมอแลว มันจะเห็นความสุขหรือทุกขชอบไมชอบ จะเห็นอยูตลอดเวลา มันจะทวนลงไปทีเดียว วามันไมแน

     สุขเกิดขึ้นมาอันนี้ก็ไมแนนอนเหมือนกัน อยาไปหมายมั่นมันเลย ทุกขเกิดขึ้นมาเราก็วาเลยวา อันนี้มันก็ไมแนเหมือนกันนะ มันแนอยูตรงไหนเลา มันแนอยูตรงที่มันไมแนมันเปนอยูอยางนั้นเอง อันนี้เปนเหตุใหสุขทุกขและอารมณทั้งหลายเหลานี้ไมมีกําลังเสื่อม เมื่อสิ่งทั้งหลายนี้มันเสื่อมไป อุปาทาน(ความยึดมั่น) ของเราก็นอย ก็ปลอยวาง นี่เปนเรื่องของธรรมชาติเรื่องของธรรมดาเชนนี้

               ฉะนั้นจิตใจของเรา มันจะไดมาก็เปนเรื่องธรรมดาของมัน มันจะเสียหายไปก็เปนเรื่องของมัน มันจะสุขก็เปนเรื่องของมัน มันจะทุกขก็เปนเรื่องของมัน เรื่องของสังขารมันเปนอยูอยางนั้น อันนี้เปนสักแตวาเรารูสึกเทานั้น อื่นนั้นก็ไมมีฉะนั้นทานจึงสอนใหโอปนยิโก คือใหนอมเขามาใสตัวอยานอมออกไป นอมเขามาใหเห็นดวยตัวของเรานี้

      ทางที่ดีสําหรับคนที่อานที่ศึกษามามากแลว จะมาอยูมาภาวนาเพียงสองสัปดาหเทานี้
นะ อาตมาเห็นวาไมตองดูไมตองอาน หนังสือเอาเขาตูเสีย ถึงเวลาเราทํากรรมฐาน นั่งสมาธิของเรา เราก็ทําไป อานปานสติทําไปเรื่อยๆ ขณะที่เราเดินจงกรม เราก็เดิน ใหรูจิตของเราเทานั้นแหละ รักษาจิตของเรา บางทีความหวาด ความสะดุงมันเกิดขึ้นมา เราก็ทวนมันอีก อันนี้เปนของไมแนนอนเรื่องความกลาหาญเกิดขึ้นมา อันนี้มันก็ไมแนนอนเหมือนกันไมแนทั้งหมดนั่นแหละ ไมรูจะจับอะไร นี่ทําปญญาใหเกิดเลยทีเดียว ทําปญญาใหเกิด ไมใชรูตามสัญญา(ความจํา) รูจิตของเราที่มันคิดมันนึกอยูนี้มันคิดนึกทั้งหมดเกิดขึ้นมาในใจของเรานี้แหละ จะดีหรือชั่ว จะถูกหรือผิด รับรูมันไวอยาไปหมายมั่นมัน เออ...ทุกขมันก็เทานั้นแหละ สุขมันก็เทานั้นแหละ มันเปนของหลอกลวงทั้งนั้นแหละ เรายืนตัวอยูเชนนี้เลยยืนตัวอยูเสมอเชนนี้ไมวิ่งไปกับมัน ไมวิ่งไปกับสุข ไมวิ่งไปกับทุกขรูอยู รูแลวก็วาง อันนี้ปญญาจะเกิด ทวนจิตเขาไปเรื่อยๆ

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 12:10:35 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

6.....
  เวลาเรามีไมมาก เรามาฝกจิตก็ตองดูจิต ดูอาการของจิต ลองดูจิต ใหเห็นจิตเรา อยาไปยึดมั่นถือมั่นถือมั่นก็เห็นสุขเปนของจริง สุขเปนเรา สุขเปนของเราทุกขเปนเรา ทุกขเปนของเรา มันคิดเชนนี้แตความเปนจริงนี้สุขสักแตวาสุข ไมใชเราไมใชเขา ไมใชสัตวบุคคล ตัวตนเราเขา ทุกขนี้ก็ไมใชเราไมใชเขา ตัวคนที่รูทุกขหรือสุขนี้ก็ไมใชเราไมใชเขา ถาเราเห็นเชนนี้ก็ไมมีอะไรจะเกาะ เกิดสุขขึ้นมา สุขก็เกาะเราไมไดเกิดทุกขขึ้นมาทุกขก็เกาะเราไมไดทําไมไมไดเพราะวามันไมแน เปนของปลอมทั้งนั้น เปนของไมแนนอน ถาเราคิดเชนนี้จะภาวนาไดเร็ว จะยืนจะเดินจะนั่งจะนอนจะไปจะมา ทุกอยางจิตกําหนดอยูเสมอ ใหรูมีอารมณมันเขามา ตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรสอะไรตางๆ นี้มันจะเกิดความชอบไมชอบขึ้นมาทันทีมันจะเกิดสุขเกิดทุกขขึ้นมาทันทีอันนี้เราเรียกวาอานดูจิต มันจะเห็นจิต เพราะมันเกิดจากจิตดวงเดียวเทานี้มันจะใหสุข มันใหทุกขทุกอยางเกิดจากจิต ถาเราตามดูจิตของเราอยูเชนนี้มันจะเห็นกิเลส มันจะเห็นจิตของเราสม่ําเสมอเลยทีเดียว อันนี้แหละคืออาการภาวนา

     บางคนเมื่อมาภาวนา ตอนเย็นก็นั่งสมาธิเดินจงกรม ก็นึกวาเขาไดภาวนาแลว ยังไมใชเทานี้ความเปนจริงการภาวนาคือสติติดตอกัน ใหเปนวงกลม ตลอดเวลาใหมีสติอยูสม่ําเสมอ ใหรูใหเห็น ใหเห็นอาการที่มันเกิดขึ้นมาในจิตของเรา เห็นเกิดขึ้นมา อยาไปยึดมั่น อยาไปหมายมั่น ปลอยมัน วางมันไวเชนนี้ปฏิบัติเชนนี้เร็วเร็วมาก มีแตเห็นอารมณเทานั้นแหละ อารมณที่ชอบ อารมณที่ไมชอบ

     ทุกวันนี้เราทุกคนนะไมรูจักกิเลสตัณหา มีคนๆเดียวนั่นละที่มันหลอกตัวอยูวันยังค่ำ ดูซิเราเกิดมามีอะไรไหม ก็คนๆ เดียวนั่นแหละมันพาใหเราหัวเราะอยูที่นี่ รองไหอยูที่นี่โศกเศราอยูที่นี่ วุนวายอยูนี่แหละ มันก็่คือคนๆเดียวกันถาเราไมพิจารณา ไมตามดูแลวยิ่งไมรูจักมัน มันก็เกิดทุกขอยูตลอดเวลา ไดมาก็เคยเสียอยู เสียแลวก็เคยไดมาอยูก็พลอยสุขกับมันทุกขกับมัน ยึดมั่นหมายมั่นกับมันตลอดเวลาอยูเชนนี้เพราะไมดูมัน ไมพิจารณา ของทั้งหลายนี้ไมไดอยูที่อื่น มันอยูที่ตัวเรา ถาเราพิจารณาที่ตัวเราอยูเชนนี้เราจะไดฟงธรรมของพระพุทธเจาของเรา

  ตนไมทุกตนเปรียบเหมือนมนุษยกอนหินทุกกอนเปรียบเหมือนมนุษยสัตวทุกสัตวในปาในทุงก็ดีมันก็เหมือนกับเรา ไมแปลกกับเรา มีสภาวะอันนี้อันเดียวกัน มีความเกิดขึ้นเปนเบื้องตน แลวก็มีความแปรในทามกลาง แลวก็มีความดับไปในที่สุด เหมือนกันทั้งนั้น ฉะนั้นเราไมควรยึดมั่นหรือถือมั่นอะไรทั้งหลาย แตวาเราตองใชมันอยู เชน กระติกน้ําใบนี้เขาเรียกวากระติก เราก็เรียกวากระติกกับเขา เพราะวาเราจะมีความเกี่ยวของกับกระติกน้ําอยูตลอดเวลา เขาเรียกกระติกก็เรียกกับเขา เขาเรียกกระโถนก็เรียกกับเขา เขาเรียกจานก็เรียกกับเขา เขาเรียกถวยก็เรียกกับเขา แตเราไมติดอยูกับถวย
ไมติดอยูกับจาน ไมติดอยูกับกระโถน ไมยึดมั่นถือมั่นอยูในนั้น นี่เรียกวาเราภาวนา รูจักตัวเราและรูจักของของเรา

     รูจักตัวเราแลวก็ไมทุกขเพราะตัวเรา รูจักของของเราแลวก็ไมทุกขกับของของเรา อันนี้เพราะเราทํากรรมฐาน ปญญามันจะเกิดขึ้นอยางนี้มันจะเห็นไปตามสภาวะมันเองทุกๆอยาง อันนี้เปน โลกุตตรปญญา ปญญาเกิดจากการภาวนา (ภาวนามยปญญา) มันพนจากโลกียวิสัย เมื่อจิตสงบรวมกําลังจิตตรงที่นั้น เกิดรูเกิดเปนญาณขึ้นมา เปนความรูโลกุตตระอันนั้น

     ความรูโลกุตตระอันนี้พูดใหก็ไมรูเรื่อง อกฺขาตาโรตถาคตา ตถาคตเปนแตเพียงผูบอก คือพระพุทธเจาบอกใหไดแตวาทําใหไมไดเรื่องการประพฤติปฏิบัติมันเปนเชนนั้นฉะนั้น อดทนแลวก็เพียร สอบอารมณเรื่อยๆ ไป ถึงคราวเราทําความเพียร เราก็ทําไป ทําสมาธิเราก็ทําไป ออกจากสมาธิก็พิจารณา เห็นมดก็พิจารณา เห็นสัตวอะไรก็พิจารณาเห็นตนไมก็พิจารณา ทุกอยางเหมือนเรา ทุกอยางนอมเขามาหาตัวเรา เหมือนเรา
ทั้งนั้น อยางใบไมมันจะหลนเองไป ใบไมมันจะขึ้นมาใหมตนไมมันจะใหญตนไมมันจะเล็กอะไรทั้งหลายเหลานี้มันลวนแตเกิดปญญาทั้งนั้น ไมควรยึดมั่นถือมั่นอะไรทั้งนั้น เมื่อจิตเรารูจักการปลอยวางเชนนี้แลวก็จะเกิดความสงบ ความงบไมใชสุขไมใชทุกขมันสงบ เรียกวา ไดความพอดีเหมาะสม ดวยความรูสึกนึกคิดของเรานั้น เรียกวา เปนธรรม

                     ผูที่ฝกแลวก็จะพอมองเห็น ผูที่ยังไมเคยฝกนี้มันก็เปนของที่ลําบากสักนิดหนึ่งเราอยาไปนอยใจมัน อยาไปตกใจมัน มันก็เหมือนนักเรียนนั่นแหละ เพิ่งเขาโรงเรียนจะใหเขียนหนังสือไดอานหนังสือไดเขียนหนังสือใหมันสวยงามมันก็ไมไดอาศัยการฝก อาศัยการกระทํา อาศัยการประพฤติอาศัยการปฏิบัติแลวมันก็เปนไป การตั้งไวในใจของผูประพฤติปฏิบัตินี้ใหเอาชนะตัวเอง ไมตองเอาชนะคนอื่น ใหสอนตัวเอง ไมตองพยายามสอนคนอื่นใหมากที่สุด เดินไปก็ใหสอนตัวเองทั้งนั้น นั่งก็ใหสอนตัวเองไดทุกอยางใหมีในตัวของเราอยูเสมอเรียกวา สติสตินั่นแหละเปนแมบทของผูเจริญกรรมฐานสติอันนั้นเมื่อมันมีความรูสึกขึ้นปญญาก็จะวิ่งมา ถาสติไมมีปญญาก็เลิก ไมมีฉะนั้นจงพากันตั้งใจ ถึงแมวาเราจะมีเวลานอยก็ชางมัน เวลานอยก็ยังเปนอุปนิสัย ยังเปนปจจัยอยางอื่นจะหาเปนที่พึ่งอยางพุทธศาสนานี่ไมมีมันจบอยูตรงนี้ไปไหนก็ไมจบ แตพุทธศาสนาทําใหมันจบอยูตรงนี้

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 12:21:17 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

7.....
                       ถาเราไมเห็นเดี๋ยวนี้ตอไปก็ตองเห็น ถาเราพิจารณาเชนนี้ตอๆไป ยังเปนคนใหมประพฤติใหมปฏิบัติใหมก็ยังไมเห็น ก็เหมือนกับเราเปนเด็ก เรายังไมเห็นสภาพของคนแกทําไมไมเห็นละ ฟนเราก็ยังดีอยูตาเราก็ยังดีอยูหูเราก็ยังดีอยูรางกายเราก็ยังดีอยู ไมรูจักคนแก แตตอไปเมื่อเราเปนคนแกเราจะรูจัก ใครจะบอก สังขารมันจะบอก ฟนมันจะโยก นี่แกแลว ตามันจะไมสวาง หูมันจะตึง สภาวะรางกายมันจะเจ็บปวดไปหมด นี้คนแกมันเปนอยางนี้ใครมาบอก สังขารนี้บอกเอง ถาเราพิจารณาอยูคือสัญชาตญาณมันมีอยู เชนพวกปลวกหรือแมผึ้ง ผึ้งใครไปสอนมัน เมื่อมันทํารัง มันมีลูก มันทํารังกันสวยๆ  ถามันแกมันก็ออกไปเปนรังใหมลูกๆ ผึ้งมันก็ไปทํารังกันใหม ใครไปสอนมัน มันทํารัง
กันสวยๆ

     นกก็เหมือนกัน ตามปานะ โดยเฉพาะนกกระจาบนกกระจอก มันทํารังกันสวยๆ ใครไปบอกมัน เมื่อมันโตมันก็บินจากพอแมมันไป มันก็ไปทํารังเหมือนพอแมกัน ใครจะไปบอกมัน ปลวกก็เหมือนกัน ใครจะไปบอกมัน สัญชาตญาณมันมีมันทําของมันเองสัญชาตญาณอันนี้ที่มีอยูในใจของเรานี้เราก็ไมรูตัวเรา ถาเราไมมาเรียนรูธรรมก็ไมรูจักสิ่งทั้งหลายเหลานี้ความเปนจริง คนทุกๆ คนมันอยากจะมีความสุข และมันอยากจะดีทุกๆ คนนั่นแหละ แตมันทําดีไมเหมือนกัน มันตามหาความสุขไมเหมือนกัน มันตางกันเพราะปญญา

     สัญชาตญาณที่มันมีอยูในใจเรานั้น เราไมรูจักมันมันปกปดอยางสนิท อยางชนิดไมรูไมเห็น เมื่อธรรมชี้ไปมันจึงจะเห็น เชนวา เรานั่งอยูนี่ รางกายของเราทุกสวนนี่โดยสภาพแลว พระพุทธเจาทานวา ไมมีชิ้นไมมีอะไรมันจะสวยมันจะสะอาดเลย ทานตรัสอยางนี้ไมสวยไมสะอาด และไมเปนแกนเปนสารดวย เราก็ยังไมเห็น เรานึกวาอันนี้มันสวยอยูอันนี้มันสะอาดอยูอันนี้มันดีอยูทําไมมันเปนอยางนั้นเลา ของไมสวยแตในเห็น
วาสวย ของไมสะอาดทําไมมันเห็นวาสะอาดของไมเปนแกนสาร ของนี้ไมใชตัวของเราทําไมจึงเขาใจวาเปนตัวของเรา อันนี้มันก็มืดอยูพอแลว มันนาจะเห็นนี่ธรรมชาติอันนี้มันก็ไมใชตัวใชตนเราจริงๆ มันจะเจ็บจะไขเมื่อไหรก็เจ็บก็ไขมันจะตายเมื่อไหรมันก็ตาย มันไมหวงเราทั้งนั้นแหละ อันนี้เราก็ยังไมเห็นมัน มันนาจะเห็น ทําไมไมเห็นละ นี้มันก็มืดพออยูแลว ที่มันไมเห็นนี่นะ องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาของเรา ไดแยกสิ่งทั้งหลายเหลานี้ออกมาจนจิตของทานเห็นวาสิ่งทั้งหลายทั้งปวงเหลานี้เปนของไมเที่ยง เปนทุกขเปนอนัตตา เห็นจริง ๆ ชัดๆ ไมใชสัญญา(ความจํา) สังขารรางกาย
มันจะเปนอยางไร ก็ใหมันเปนไปตามเรื่องของมัน ทานเห็นเชนนั้น

     การกําหนดพิจารณา เรียกวา ภาวนากรรมฐาน เพื่อใหมันเห็น ขนาดนั้นมันยังไมคอยจะเห็น อันใดมันไมสวยก็เห็นวาสวย อันใดมันไมเปนแกนเปนสาร มันก็เห็นวาเปนแกนเปนสาร นี่จิตมันไมยอม มันจึงไมเห็น ทานก็วาเยาวคือจิตมันเปนเด็กอยู จิตมันยังเยาวอยูจิตมันยังไมเติบ จิตมันยังไมโต เชนนั้น พระพุทธศาสนานี้ทานสอนสวนจิต ใหจิตเปนคนเห็น ถาจิตมันเห็นแลวจิตมันรูของมันแลว ไมตองเปนหวง เรียกวา การภาวนาเปน

     ฉะนั้นจึงคอยๆ ทํา คอยๆ ประพฤติปฏิบัติไมใชวาจะเอาวันสองวันสามวันใหไดใหเห็น เมื่อวานซืนนี่มีนักศึกษาไดมาปรึกษา จะไปนั่งภาวนากรรมฐาน นั่งสมาธิมันไมสบาย มันไมสงบ มาหาหลวงพอ ชารจแบตเตอรี่ใหไมไดหรือ นี่อันนี้มันตองพากันพยายาม พยายามทํากันไปเรื่อยๆ คนอื่นบอกมันไมรูจัก มันจะตองไปพบดวยตนเอง ไมตองเอาทีละมากหรอก เอานอยๆ แตเอาทุกวัน นั่งสมาธิทุกวัน แลวก็เดินจงกรมทุกวันมันจะมากหรือนอยเราก็ทําทุกๆ วัน แลวก็เปนคนที่พูดนอย แลวก็ดูจิตของตัวเองตลอดเวลา เมื่อดูจิตของตัวเอง อะไรมันจะเกิดขึ้นมา แลวมันจะสุขหรือมันจะทุกขอะไรเหลานี้ก็บอกปดปฏิเสธมันเสีย วาเปนของไมแนนอน เปนของหลอกลวงทั้งนั้น

     ผูที่เรียน ศึกษามากๆ นั้นนะ มันเปนดวยสัญญาไมใชปญญา สัญญาเปนความจําปญญาเปนความรูเทาทันมันไมเหมือนกัน มันตางกันบางคนจําสัญญาเปนปญญา ถาปญญาแลวไมสุขกับใคร ไมทุกขกับใคร ไมเดือดรอนกับใคร ไมเปนทุกขเปนรอนกับจิตที่มันสงบหรือไมสงบ ถาสัญญาไมใชอยางนั้นนะ มันเกิดความยึดมั่นถือมั่น เปนทุกขเปนรอนไปตามอารมณทั้งหลายเหลานั้น

ออฟไลน์ saken6009

  • อย่ากลัวคนจะมาตำหนิ แต่จงกลัวว่าตัวเองจะทำผิด อย่ากลัวที่จะรับรู้ความบกพร่องของตน แต่จงกลัวว่าตนจะเป็นคนที่ดีได้ไม่จริง
  • ก้นบาตร
  • *****
  • กระทู้: 893
  • เพศ: ชาย
  • ชีวิตของข้า เชื่อมั่นศรัทธา หลวงพ่อเปิ่น องค์เดียว
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 01:05:36 »
ตามดูจิต(หลวงปู่ ชา) 36; 36;
                                                   
สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทําบาปทางกาย ทางวาจา
                       
กุสลสฺสูปสมฺปทา เมื่อมาทําจิตของตนให้สงบ ระงับจากบาปแล้ว ก็เป็นจิตที่มีกุศลเกิดขึ้นมา                                                                                                                                                         
สจิตฺตปริโยทปนํ การมาทําจิตใจของตนให้ผ่องใสขาวสะอาด
             
ขอขอบคุณท่าน ทรงกลด ที่นำบทความดีมากๆมาให้พี่น้องศิษย์วัดบางพระได้อ่านครับ  :054: :054:
 
ติดตามอยู่ครับ อ่านแล้วเพลินดีมากๆครับ และ ได้ความรู้ดีมากๆครับผม :053: :053:  
 
(ขออนุญาตเข้ามาอ่าน ขอบคุณครับ) :054: :054:
 
  

กราบขอบารมีหลวงพ่อเปิ่น คุ้มครองศิษย์ทุกๆท่าน ให้แคล้วคลาด ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง สาธุ สาธุ

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:40:49 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

8.....

สมถวิปสสนา

                  ในการทํากรรมฐานนั้น มีอารมณอยูสองอยางอารมณอยางที่หนึ่งที่เรียกวา ใหเรามีความสงบ อยางที่สองเรียกวา ใหเราเกิดปญญา แลวก็สงบทีหลัง อารมณที่ใหเรามีความมสงบนั้น ไมยากอะไรหรอก เหมือนเด็กๆ มันไมนอนนะเราก็ไปจับกระเชา(เปล) แกวงไปมา
เรื่อยๆ เดี๋ยวมันก็หลับอารมณอันนี้เรียกวา สมถกรรมฐานมีหลายอยาง บางคนไปจับเอาอานาปานสติบาง พุทโธบาง ธัมโมบาง สังโฆบาง สารพัดอยาง ตองหาความสงบนี้เปนเบื้องแรก

     แตวาความสงบอันนี้มันยังมีอะไรไปเจือปนมันอยูสงบเพราะวาของมันมีอยู เราไมรูจักมัน มันก็สงบ เชนวาผาเช็ดเทาที่ผมเหยียบอยูเดี๋ยวนี้มันมีงูตัวหนึ่งอาศัยอยูตรงนี้ผมก็เอาเทาเหยียบลงไป ผมไมรูสึกกลัวอะไรเลย เพราะผมไมเห็นงูแตความจริงนี้งูอสรพิษนี้อยูตรงนี้แตผมไมคิด ผมก็สบายใจ ไมคิดกลัวอะไรตอะไร ที่ผมไมกลัว ก็เพราะไมรูวางูอสรพิษนี้อยูตรงนี้นี่คือ สมถะ ทําจิตใหสงบ กิเลสมีอยูก็ชางมัน เวลานี้ฉันสงบ นี่เรียกวาสงบจิต ไมใชสงบกิเลส พูดตามภาษาอันนี้เรียกวา สมถะ การฝกทําจิตใหสงบ แตมันเปนไวพจนซึ่งกันและกันหรอก เพื่อจะทําใหกิเลสสงบตอไป

     เรื่องทําใหกิเลสสงบตอไปนั้น เปนเรื่องของปญญา เรื่องของปญญานี้ก็มีเรื่องสําคัญอยางหนึ่ง ที่จะใหปญญาเกิดขึ้น ตองเจริญอันนี้มากๆ ไมเกิดเดี๋ยวนั้น ตอไปมันก็จะเกิดถาเจริญไมหยุด ปญญามันจะเกิดไมหยุดตอไป ผมก็พูดบอย แตวาคนก็ไมคอยเอาใจใสหรืออยางไรก็ไมรูสังเกตดูมันถึงไดเปนทุกขกันอยูเสมอ

     เรื่องทําจิตใหสงบ เพื่อใหกิเลสสงบนั้นนะ ที่ผมวาอารมณของ วิปสสนา คือ เรื่องอะไรบาง? คือ เรื่องอนิจจัง เรื่องทุกขัง เรื่องอนัตตา 3 อยางเทานี้แหละ มันเปนเหตุใหปญญาเราเกิด เราจะถูกอารมณดีใจที่สุดก็ตาม เสียใจที่สุดก็ตาม รักที่สุดก็ชางเถอะเกลียดที่สุดก็ชางเถอะ อยาลืม ขบปญหานี้ใหแตก อยาลืม มันจะเกลียดขนาดไหน จะรักขนาดไหน จะเสียใจขนาดไหน จะดีใจขนาดไหนก็ตามเถอะ ซึ่งมันเกิดขึ้นมาแลว เราควรบอกมันใหเขาใจวา “อันนี้มันไมแน” ทุกครั้งไมใชพูดออกทางปาก แตพูดทางใจเสมอ “อันนี้มันไมแน” อันนี้ที่จะพาเราพน ตอนนี้ปญญามันจะเกิด ถึงแมตอนนี้เราไมเห็นตอไปมันก็เห็น

     ถาเราไมทิ้งจุดนี้จุดนี้เปนจุดที่สําคัญที่ใหปญญาเราเกิดทั่วถึง ใหรูจักทั่วถึง นี่เรียกวาปลอยวางอารมณทั้งหลายทั้งปวงที่มันเกิดขึ้น เห็นแตวา มันเกิดแลวดับไปจะเห็นอันนี้ชัดเจน จิตเราจะสงบ เมื่อจิตสงบ กิเลสก็สงบดวย

     ตรงนี้ที่วาสมถะนั้น จิตมันสงบ กิเลสไมสงบตอนนี้จิตสงบดวย กิเลสสงบดวยเพราะมันเปนปญญาตรงนี้ใหเขาใจ มันจะอยูไปเฉยๆ ก็ไดการยืน เดิน นั่ง นอน ก็ไดถามีอารมณวูบหนึ่งเกิดขึ้นมา มันดีใจเหลือเกินอยางนี้ใหคอยๆ พิจารณา วาอันนี้มันไมแนมันก็แตกกัน มันไมรวมกลุมกันเสียแลว แตถาไปคิดวามันแนนะมันก็จะรวมกลุมกัน แตความมจริงแลวอันนี้มันไมแนถารูความจริงอยางนี้ความเห็นผิดมันคอยวางจางคลายออกไปไมรวมกลุมกันละ

บัว 4 เหลา

                  ภายในโคลนนั่นนะ มีความเหม็นสาบเหม็นเนาสารพัดอยาง แตดอกอุบลทั้งหลายที่เกิดในที่นั้น ยิ่งสวย ยิ่งงาม ยิ่งตนใหญลําใหญดอกใหญ โคลนทั้งหลายนั้นเปนปุยของมันบัวทั้งหลายมันชอบปุย ติณชาติทั้งหลายชอบปุย ไดปุยแลวมันงาม ปุยนั้นเปนของโสโครก เปนของสกปรกเปนของเหม็น กลิ่นสารพัดอยาง มันจะเหม็นเทาไรๆ สกปรกเทาใดๆ บัวมันยิ่งชอบ ดอกมันยิ่งโต ลํามันใหญ ยิ่งยาวดอกบัวนั้นก็เปรียบกับจิตของเรามันจมอยูในทุกสิ่งทุกอยาง คือ ราคะ โทสะ โมหะ สารพัดอยาง อันมันเปนโคลน ที่เปนโคลนนี้ทานจึงจัดวา ดอกบัวมันอยูในตม ที่มันอยูในโคลนนั้นนะ ทานบอกวา มันเปนดอกบัวที่เสี่ยงเสี่ยงเพราะอะไร มันอยูในโคลนยังไมมีหวังที่จะพนตมมาเลย มันจึงเปนดอกบัวที่เสี่ยงมากทีเดียว มันเปนเหตุที่วาเตามันก็จะกิน ปลามันก็จะกินไดเพราะมันอยูในโคลน

     จิตใจของเราก็เหมือนกันฉันนั้น ถามันหมกอยูใน ราคะ โทสะ โมหะ มันเหมือนอยูในโคลน มัจจุราชตามเอาเปนอาหารหมดละ มันอยูในโคลน มันหนาแนน มันไมไดยินมันไมไดฟง มันไมไดอบรม มันหนา มันแนน มันก็ยังมีที่หวังของมันจะเปนไดหลายอยาง จะเปนปุถุชน หรืออันธภาพชนทั้งหลาย เปนไดหลายอยาง แลวแตจิตของตน

     อีกคนหนึ่งนั้น อีกจิตหนึ่งนั้น มันจะพนตมขึ้นมาแลว แตมันอยูในกลางน้ํา ดอกบัวดอกนี้ก็ยังจะเสี่ยงอยูเหมือนกัน นี่เพราะวามันจะเปนอาหารเตาหรือปลาอยูเสมอ ยังไมพน

     เหลาที่ 3 เสมอน้ํา พนตมแตยังเสมอน้ํา อันนี้ก็ยังเสี่ยงอยูเหมือนกัน ยังจะเปนอาหารของปลา และเตาอยูทั้งนั้นอันนี้มันเกิดความรูสึกขึ้นมา มีญาณของพระพุทธเจาของเราที่ทานหยั่งซึ้งลงไปวา สัตวโลกเปนอยางไร
     เหลาที่ 4 นี้เรียกวา พนโคน พนตม พนน้ํามาจะบานแลว บัว 4 เหลานี้คือ อุคฆฏิตัญูวิปจิตัญูเนยยะ ปทปรมะ นั่นแหละ

     พระพุทธเจาของเราจึงมาตรัสเสียวา เออ มันเปนอยางนี้อยู โลกมันก็ตองเปนอยางนี้อยู ไมใหมันเปนอยางนี้มันก็ไมเปนโลก จะตองทําอยางไร พระพุทธเจาทานรูแจงโลกนี้ดีจึงทรงชื่อวา โลกวิทูในจิตของทาน รูแจงโลกวา มันเปนอยางนี้โลกมันเปนอยางนี้เหมือนบัวในตมในโคลนมันเหม็นสาบ ดอกบัวไปเกิดที่ตรงน้ํา มันโผลน้ําขึ้นมา มันมีกลิ่นหอมนาทัศนาดูทุกสิ่งทุกอยาง ก็เพราะดอกบัวดอกนี้มันเกิดมาจากโคลนสกปรกจิตใจของเราทั้งหลายก็เหมือนกันสัตวโลกทั้งหลายก็เหมือนกัน มันปกปดอยูดวยอาสวธรรมทั้งหลายทั้งนั้นแหละ

     ถึงพระพุทธเจาก็ดีพระอรหันตสาวกก็ดีก็ตองเกิดมาจากโคลนอยางนั้น มีราคะโทสะ โมหะปกคลุมอยูทั้งนั้นแหละ หุมหออยูทั้งนั้นแหละ แตพระพุทธองคก็พนมาไดสาวกทั้งหลายก็พนมาไดทานแยกกันอยูอยางนั้น ถาไมมีอันนั้นเปนเหตุผลมันก็เกิดขึ้นไมได


ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:53:05 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

9.....

ธาตุ 4

               จิตนี้มันคลายกับแผนดินหรือน้ําหรือลมหรือไฟ สมมติตัวเรานี้ก็เปนดิน เปนน้ํา เปนไฟ  เปนลม เทานั้นไมมีอะไร มันเปนอนัตตาไปเลย ไมใชกอนอัตตานี้แลว นี่ทานจึงวา ทําจิตเปนดิน เปนน้ำ เปนไฟ เปนลม รางกายที่เรียกกันวา เราๆ เขา ๆ อันนี้มันก็ไมใช เราๆ
เขาๆ
     ตามธรรมดา ตามธรรมชาติความเปนจริงมันก็สักวา ธาตุนั่นแหละ คือเปน ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม เทานั้นแหละ ดังนั้น ทานจึงวาอยางนี้เราจะตองเปนธาตุเสีย ยอมใหมันเปนดินเสีย เปนน้ำเสีย เปนไฟเสีย เปนลมเสีย
      ดิน ปกติเราจะเอาจอบไปขุดมันก็ไมมีอะไร จะเอาของเหม็นไปถายเทใสดินก็อยูอยางนั้น
      ลม ก็เหมือนกัน ลมพัดไปมา เบื้องลาง เบื้องบน ของสกปรกรกรากทั้งหลายก็พัดไปเออ มันเปนเรื่องธรรมดามันก็เปนลม
      ไฟ ก็เหมือนกัน ความอบอุนที่อยูในรางกายของเรานี้เปนไฟ ไฟธรรมดานี้ไปเผาอะไรไดไหม ไฟเผาของเหม็นก็ไดของหอมก็ไดสกปรกรกรากสารพัดอยาง ไฟไมมีอะไร ไฟก็่คงเปนไฟอยูอยางนั้น
      น้ำ ก็เหมือนกัน น้ำธรรมดาทุกวันนี้นี่ก็พูดถึงน้ําใจของทานที่จะอุตสาหโปรดสัตวโลก ก็เหมือนน้ำธรรมดาๆ จะทําเปนน้ำหอมก็ไดน้ำเหม็นก็ไดลางของสกปรกก็ไดจะไปทําอะไรก็ไดจะไปทําใหมันเย็นเปนกอนก็ไดจะไปทําใหมันรอนเหมือนกับไฟอีกก็ไดแตมันก็เปนน้ำของมันอยู
      ตกลงตัวทานก็เปนดิน เปนน้ำ เปนไฟ เปนลม มันจะถูกอิฏฐารมณอนิฏฐารมณชอบใจ ไมชอบใจ มันสักแตวารูไมมียึด เหมือนกับดิน กับน้ำ กับไฟ กับลม มันจึงไมยึดมั่นถือมั่นอะไรทั้งหลายทั้งปวงเหลานั้น ตัวทานก็คงเปนเพียงธาตุ 4

มรรค 8

พวกเราทั้งหลายครอบครองทรัพยสมบัติภายนอกตัวมามากแลว จงเขามาเปลี่ยนเปนทรัพยภายใน อันนี้จะพนจากอุทกภัย วาตภัย โจรภัย อะไรตางๆ ทรัพยอันนี้จะพนจากขาศึกแลว น้ำทวม ลมพัด ไฟไหมอันตรายตางๆ ทั้งหลายเหลานี้เขาไมถึงแลว เพราะวาเขาถึงจุดมัน คือที่ความสบายใจหรือความดีใจที่ฝงไวในวิญญาณอันนี้ดังนั้นพระพุทธเจาของเราทานจึงไดวา บุญไมอยูภายนอก แตเขามาขางในเสียแลว ทานจึงจัดเปน อริยทรัพยหรือทรัพยภายใน  ซึ่งน้ำทวมไมไดไฟไหมไมไดโจรลักไปไมได  สวนนี้โยมจะสบาย สวนที่บริจาคไปวันนี้เก็บบัญชีไวดีๆ แลวพนอันตรายสบายใจๆ อัน
นี้ไมมีโทษอะไร ฉะนั้นการบริจาคนี้เปนการปราบกิเลสสวนหนึ่ง ซึ่งเรียกวาตัว โลภะ ทําใจเราใหมัวหมอง เมื่อจิตมัวหมองแลวทานจะไดทุกขไปตามอันนั้น การกระทําวันนี้ของญาติโยมทั้งหลายเปนไปในทํานองอันนี้

     แตอยางไรก็ตาม ธรรมะขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาของเราทานสอนวาการใหทาน การักษา ศีล การเจริญเมตตา ภาวนา นั้น รวมเขาไปหาจุดอันเดียว ๆ คืออันใดอยูที่ไหน จุดอันเดียวเพื่อจะใหถึงความสงบ เมื่อสงบแลวเรียกวามันจบ กอนจะสงบนั้นนะเราจะรูเรื่องวา เราจะทําอยางไรใจเราจึงสงบ อยางนี้เปนตน เมื่อจิตเราไมสงบเราจะทําอยางไรมันถึงจะสงบ ถาเมื่อจิตสงบแลวก็ถึงจุดของพระผูมีพระภาคของเรานั้นนะที่ทานตองการที่สุด
     เรื่องที่จิตของเราที่ไมสงบนั้น เพราะวาจิตของเรานั้นนะไมเขาถึงธรรมะอันแทจริงไมถึงจุดธรรมะอันแทจริง จิตเรายังโงอยู ยังไมฉลาด ไมมีปญญารูเทาตามความเปนจริงในสภาวธรรมทั้งหลาย นั้นเรียกวาปฏิบัติธรรม อะไรมันเปนธรรมะทุกอยาง สิ่งที่ไมเปนธรรมะไมมีคือของทุกสิ่งทุกอยางนั้นแหละ ทานเรียกวาธรรมะ จะเปนรูปที่เรามองเห็นดวยตาก็ตามจะเปนนามสิ่งที่เรามองเห็นดวยตาไมไดก็ตาม เปนธรรมกันทั้งหมดเลยทีเดียว นี่เรียกวา ธรรมะ เรียกวาสภาวะ คือความเปนอยูอยางนั้น มันเปนเองของมันอยูอยางนั้น แมพระพุทธเจาจะบังเกิดขึ้นก็ตาม ไมบังเกิดขึ้นก็ตาม สภาวธรรมเปนอยูอยาง
นั้นเอง ไมแปรเปนไปอยางอื่น

     ทีนี้ความไมสงบของเราทั้งหลายนั้น คือยังไมไดประพฤติธรรม ยังไมไดปฏิบัติธรรมเชนองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาของเราทานวาใหเห็นอยางถูกตองเรียกวาสัมมาทิฏฐิตลอดไปจนถึง สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสติสัมมาสมาธิองคของมรรคมี 8 อยาง แตมรรคมีอันเดียว คือ เอกายนมรรคเปนมรรคอันเดียว และเปนของบุคคลที่จะสัญจรไปคนเดียว ไปแตผูเดียว แตวามีองค 8 ประการ

     เมื่อเรามาเห็นชอบ ดําริมันก็ชอบ วาจามันก็ชอบ การงานก็ชอบ เลี้ยงชีวิตมันก็ชอบพยายามก็ชอบ ตั้งสติมันก็ชอบ ตั้งใจก็ชอบ มันชอบที่ตรงไหน มันชอบอยูที่ใจของเรานี้แหละ จะไปตรงไหนก็ชางมัน มันออกจากจิตดวงนี้เห็นชอบออกจากจิต ดําริชอบมันออกจากจิต เมื่อจิตมันตั้งไวชอบแลว มันจะชอบกันไปหมดนั้น และไมมีอะไรที่จะไมชอบมรรคทั้งหลายเหลานี้มันสามัคคีกันขึ้นที่จิตใจของเราเปนอันเดียว คือ ความสงบ จุดนี้เปนทางที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาของเราทานตรัสวาใหเดินมรรคอันนี้เปน

ออฟไลน์ ทรงกลด

  • ผู้อาวุโส
  • *****
  • กระทู้: 2199
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงโด่ง.....
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: ตามดูจิต(หลวงปูชา)
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: 05 พ.ค. 2554, 11:59:09 »
ขอบคุณที่มา (ดาวน์โหลดไว้อ่านได้เลย)
http://www.fungdham.com/download/book/article/cha/004.pdf

10.....

สัมมามรรค

     ถาเราคิดใหจิตใจสงบ เชนวาเราถูกอารมณอันใดเกิดขึ้นมา ถาเราเปนสัมมาทิฏฐิมีความเห็นชอบแลว ทุกอยางมันชอบทั้งนั้นแหละ ไมมีผิด เพราะธรรมะสั่งสอนในการปลอยวาง ไมมีอะไร เมื่อมีควมสุขเกิดขึ้นมา อันความสุขนี้ทานก็สอนวาสักแตวาเปนสุข ทุกขเกิดขึ้นมานี้พระพุทธเจาก็สอนวา อันนี้ก็สักแตวาเปนทุกขไมมีใครสุข และไมมีใครทุกขเปนแตความรูสึกเกิดขึ้นมาเฉยๆ ทานจึงวา สักแตวาเปนสุข สักแตวาเปนทุกข ความสุขทุกขอันนี้มันก็เกิดขึ้นมามีอยูแตวาเราทั้งหลายมาประพฤติปฏิบัติธรรมแลว  อาการของสุขนี้มันก็เกิดขึ้นมา แตวาหาเจาของสุขนั้นไมมีไมมีใครเปนเจาของ บางที
ทุกขก็เกิดขึ้นมามีอยู แตวาทุกขนั้นมันเปนมาตามเรื่องของมัน เกิดมาตามกิริยาของมัน มันก็เปนอยูอยางนั้น ทานจึงบอกวา ถามีความสุขแลว ก็ใหรูตามความเปนจริงมันเสียวา สุขนี้ก็สักแตวาสุข ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา ถาทุกขเกิดขึ้นมาแลวทานก็ใหรับรูพิจารณามันวา ทุกขนี้ก็สักวาแตทุกขไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา

     การที่เราคิดเชนนี้แหละเปนสัมมาทิฏฐิเราก็ไมไดเปนเจาของสุขนั้นและทุกขนั้น สุข ทุกขอันนั้นเปนของที่ไมมีเจาของ ถาใครเขาไปยึดมั่นถือมั่นมัน ก็เขาไปเปนเจาของสิ่งทั้งหลายเหลานั้น เมื่อเขาไปเปนเจาของสิ่งทั้งหลายเหลานั้นมันก็ไมเพียงแตเปนทุกขมันไหลไปเรื่อยๆ ไป บางทีมันก็หายไป บางทีมันก็ไมไดมา แลวก็ดีอกดีใจ แลวก็เสียใจตามสิ่งทั้งหลายเหลานั้น เพราะวาตัวมิจฉาทิฏฐิมันเขามาแทรกใหมีความเห็นผิดเชนนั้นเห็นผิดอะไร เราเขาไปเปนเจาของความสุข เราเขาไปเปนเจาของความทุกขเขาไปแบกสุขทุกขอันนั้นอยูมันก็หนัก อันนี้มันเปนมิจฉาทิฏฐิในทํานองอยางนี้

     ถาเปนสัมมาทิฏฐิแลว เวทนานี้ก็สักแตเวทนา ลงสักวาอยางนี้เวทนานั้นเปนความเสวยสุขหรือทุกข 2 ประการนั้นแหละ เวทนานี้ถามันเกิดขึ้นมา สุขก็จัดเปนสุขเวทนาทุกขก็จัดเปนทุกขเวทนา ดังนั้นเกิดแลวมันดับไป เจาของสุขทุกขนั้นไมมีพระพุทธเจาทานใหพิจารณาอยางนี้

     เมื่อเราพิจารณาเขาไปเชนนี้บอยๆ เรียกจิตวาเขามาดูซิวา อันนี้คืออะไร สุขนี้คืออะไร ทุกขนี้มันคืออะไร มันเปนของแนนอนไหม มันเที่ยงไหม หรือมันเปนอยางไร พิจารณาตามมันเถอะ เราพอมองเห็นไหมวาสภาวะที่เปนอยูนั้นนะ เราเคยเปนสุขมาไหม “เคย” แลวมันหายไปมีไหม หายไปมันก็มีแลวทุกขเคยมีไหม เคยมีทุกขทุกคน แตวามันทุกขไปตลอดไหมบางทีมันก็หายไป เราจะไปเอาเรื่องเอาราวอะไรกับสิ่งทั้งหลายเหลานี้นี้
แหละเปนอารมณอยางนี้พระพุทธเจาทานสอนอยางนี้

     เมื่อเรารูสิ่งทั้ง 2 ประการนี้จิตเราก็สงบ ทําไมถึงสงบ เพราะเราไมเขาไปเปนเจาของอะไรทั้งนั้นแตวาเราใชสิ่งทั้งหลายเหลานี้ไดสบาย ถวยโถโอชาม จะมีในบานของเราโตะเกาอี้อะไรที่มันมีอยูนั้นก็ไมใชของเราๆ ใชไปเพื่อไมใชของเรา แตเราใชมันตามสบายใจ โดยที่ไมตองทุกขใชโดยผูมีปญญารอบคอบ ใหอยูเหนือสิ่งทั้งหลายเหลานั้นใหรูเหนือสิ่งทั้งหลายเหลานั้น ถาไมอยูเหนือสิ่งทั้งหลายเหลานั้น เราก็แบกมันโดย
อุปาทานวา อันนี้ของเรา อันนั้นของเรา เรื่อยไปอันนี้แหละที่มันเปน มิจฉาทิฏฐิเปนความเห็นที่ผิดขึ้นมาเพราะทําใหเราเปนทุกขเปนทุกขเพราะอะไร ผิดหวัง อันนั้นเธอจงเปนอยางนั้น อันนี้แกจงเปนอยางนี้ไมไดตามปรารถนาของเรา 

     พระพุทธเจาทานสอน พุทธบริษัทเราทั้งหลายเพื่อใหพนจากวัฏฏสงสารทุกๆ คน แตวาเราสัตวผูที่กิเลสหนาปญญาหยาบนั้นก็คิดไปอยางหนึ่ง ที่ฟงธรรมะแลว อะไรก็ไมใชของตนทั้งนั้น กลัวจะไมไดก็ไมสบายใจ ความเปนจริงนั้น ที่วาตน ที่เปนของตนนั้นเปนไดแตวานั้น เปนของสมมติมันไมเปนวิมุติเราตองเรียนรูมันลืมทุกอยางนั้นแหละ มันเปนของสมมติเชนตัวของเรานี้ชื่อเรานี้มันมีชื่อมาแตวันเราเกิดนะ เกิดมาแลวมาตั้งชื่อใหมชื่อเกานั้นไมมีเพราะมันไมมีทําไมมันถึงไมมีมันวางอยูตรงนั้นแหละ ตรงที่ไหนมันวาง ก็เอาอะไรไปวางตรงที่นั้นก็ไดเอาไปวางตรงที่มันวางๆ เพราะวาสัตวเกิด
มามันวางไมมีชื่อ เราก็ตั้งชื่อใหมันเสีย ชื่อใหมนี้เอาไปใสใหม เปนสมมติขึ้นมา เปนนาย ก. นาย ข. นาย ค. ชื่อใหมสมมติที่ตรงนั้น ทําไมตองสมมติมัน เพราะตรงนั้นมันไมมีอะไร จึงสมมติวาใหมันเปนนาย ก. นาย ข. เสีย นาย ก. นาย ข. จึงถูกสมมติขึ้นมา ไมใชนาย ก จริง นาย ข จริง แตเปนนาย ก นาย ข สมมติมันไมใชวิมุต ถาไปถามถึงแลว จริงๆมันจะไมมีอะไร เปนสภาวธรรมเทานั้น เกิดมาแลวตองดับไป ดับไปแลวเกิดขึ้นมา เกิดๆ
ดับๆ อยูเชนนั้นสภาวะทั้งหลายเหลานี้เมื่อเรานําเอาอันนี้ไปพิจารณาแลวจะไดรูแจงเห็นจริงแกตัวเอง

...........จบ.........

แหลงที่มา : http://thai.mindcyber.com/modules.php?name=Sections