ผู้เขียน หัวข้อ: การสร้างตะกรุด และยันต์ ในความคิดของผม  (อ่าน 4244 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ โยคี

  • เด็กวัด
  • *****
  • กระทู้: 1361
  • เพศ: ชาย
  • เมตตาธรรมค้ำจุนโลก
    • ดูรายละเอียด
     การสร้างตะกรุด และ ยันต์ ในความคิดของผม ถ้าเป็นแบบวิธีการสร้างที่ดี ต้องดีแบบดีนอก และดีใน
     การสร้างแบบดีนอกหมายถึง พิธีการจัดสร้างแล้วปลุกเสก เช่น การนำเหรียญรูปเหมื่อนทองแดง,ทองเหลือง /ปลอกลูกปืน/ยันต์ปั๊ม เป็นต้น
นำมาเข้าพิธีปลุกเสก/พิธีพุทธาภิเษก โดยที่ไม่ได้ทำอะไรเพิ่มเติ่ม
     การสร้างแบบดีในหมายถึง การจัดสร้างโดยหามวลสารต่างๆ มาประกอบ มาเขียนยันต์ กระดูกยันต์ ลงอักขระ แล้วกรึงบังคับไว้ ถ้าอักขระตัวใด
เขียนทับกระดูกยันต์ ถือว่าใช้ไม่ได้ ถ้าเป็นตะกรุดบางชนิดเวลาม้วนจะต้องว่าคาถากำกับอีก เสร็จแล้วก็ปลุกเสกซ้ำอีก
     ดังนั้น เวลาหาตะกรุด หรือยันต์ ต่างๆมาใช้ ควรพิจารณา ถึงวิธีการสร้างที่ดีทั้งนอก และดีทั้งใน จึงจะครบสูตรตามตำรา
  จะเห็นได้ว่า ตะกรุดตามแบบวัดบางพระ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบดีนอก ดีใน ยกเว้น ตะกรุดยันต์หอมเชียง ปี 44 จะเป็นแบบปั๊ม แล้วเสก แต่ก็พอจะ
อนุโลมให้ เพราะหลวงพ่อเปิ่น มีสมาธิ จิต ภาวนา สูง ท่านอาจจะเขียนยันต์ในจิตขณะปลุกเสกลงตะกรุดไปพร้อมกัน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 มิ.ย. 2550, 05:19:49 โดย โยคี »
อิติ สุคคะโต อะระหัง พุทโธ นะโมพุทธายะ  ฐิตคุโณ อาจาริโย จะมหาเถโร
มหาลาโภ สัพพะสุขขัง จะมหาลาภัง สัพพะโภคัง สัพพะธะนัง ภะวันตุเม

ออฟไลน์ นรก

  • ฉัฏฐะ
  • *
  • กระทู้: 136
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
:016: :015: ครับผม

ออฟไลน์ ~เสน่ห์โจรสลัด~

  • อัฏฐมะ
  • ***
  • กระทู้: 7913
  • เพศ: ชาย
  • " ถ้ามุ่งมั่นจะเป็นที่หนึ่งคุณจะเป็นที่หนึ่ง "
    • ดูรายละเอียด
? ?  การสร้างตะกรุด และ ยันต์ ในความคิดของผม ถ้าเป็นแบบวิธีการสร้างที่ดี ต้องดีแบบดีนอก และดีใน
? ?  การสร้างแบบดีนอกหมายถึง พิธีการจัดสร้างแล้วปลุกเสก เช่น การนำเหรียญรูปเหมื่อนทองแดง,ทองเหลือง /ปลอกลูกปืน/ยันต์ปั๊ม เป็นต้น
นำมาเข้าพิธีปลุกเสก/พิธีพุทธาภิเษก โดยที่ไม่ได้ทำอะไรเพิ่มเติ่ม
? ?  การสร้างแบบดีในหมายถึง การจัดสร้างโดยหามวลสารต่างๆ มาประกอบ มาเขียนยันต์ กระดูกยันต์ ลงอักขระ แล้วกรึงบังคับไว้ ถ้าอักขระตัวใด
เขียนทับกระดูกยันต์ ถือว่าใช้ไม่ได้ ถ้าเป็นตะกรุดบางชนิดเวลาม้วนจะต้องว่าคาถากำกับอีก เสร็จแล้วก็ปลุกเสกซ้ำอีก
? ?  ดังนั้น เวลาหาตะกรุด หรือยันต์ ต่างๆมาใช้ ควรพิจารณา ถึงวิธีการสร้างที่ดีทั้งนอก และดีทั้งใน จึงจะครบสูตรตามตำรา
? จะเห็นได้ว่า ตะกรุดตามแบบวัดบางพระ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบดีนอก ดีใน ยกเว้น ตะกรุดยันต์หอมเชียง ปี 44 จะเป็นแบบปั๊ม แล้วเสก แต่ก็พอจะ
อนุโลมให้ เพราะหลวงพ่อเปิ่น มีสมาธิ จิต ภาวนา สูง ท่านอาจจะเขียนยันต์ในจิตขณะปลุกเสกลงตะกรุดไปพร้อมกัน

หอมเชียง 44 สวยมากอ่ะ อิอิ  ;D

ออฟไลน์ ~เสน่ห์ack01~

  • ผู้คุมกฎ
  • *****
  • กระทู้: 5330
  • เพศ: ชาย
  • " ไม่เมาเหล้าแล้วเรายังเมารัก"
    • ดูรายละเอียด
เห็นด้วยเช่นกันครับ.....

ตะกรุดในยุคสมัยก่อน ในบางตำราจะเอาตะกั่วมาต้มในกระเพาะควาย แล้วค่อยนำมาตีรีดเป็นแผ่น

แล้วตัดนำมาทำตะกรุดเขียนยันต์ต่างๆแล้วสวดกำกับ ท่องคาถาเวลาม้วนอีกที ถ้าไม่จำเป็นอย่าแกะออกมาดูเลยครับ

...เสียดายของ...

บางตำราก็ใช้หนังหน้าผากเสือ หนังควายเผือก ไผ่ตัน กระดูกห่าน ซึ่งมีอาถรรณ์ในตัวอยู่แล้วมาทำ

บางตำราจารยันต์ลงในตะกรุดเสร็จเรียบแล้วยังมีการนำผงว่านยาต่างๆมาพอกไว้อีกครั้ง

อย่างตะกรุดวัดสะพานสูงจะนำผงพุทธคุณที่ใช้ทำพระปิดตามาพอกก่อนจะทาด้วยรักอีกครั้ง

....วัตถุมงคลที่ดีนอกดีใน น่าเก็บสะสมไว้ครับ นับวันจะหายากขึ้น.....

ทำบุญ วันคล้ายวันเกิด หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ
วันอาทิตย์ ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ 

ออฟไลน์ อชิตะ

  • อัฏฐมะ
  • ***
  • กระทู้: 3218
  • เพศ: ชาย
    • MSN Messenger - aston_25@hotmail.com
    • ดูรายละเอียด
ผมชอบตะกรุดหนังเสือ ครับ ถ้าเป็นหนังหน้าผากเสือยิ่งเจ๋ง... อาถรพพณ์ในตัวเสร็จ หุหุ

ออฟไลน์ เค็น

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 189
  • เพศ: ชาย
  • หลวงพ่อเปิ่น ฐิตคุโณ "เทพเจ้าแห่งลุ่มน้ำนครชัยศรี"
    • ดูรายละเอียด
เห็นด้วยอย่างยิ่งครับ คุณโยคี :015:

ออฟไลน์ เด็กเชียงใหม่

  • ตติยะ
  • ***
  • กระทู้: 140
  • เพศ: ชาย
  • จอมขมังเวทย์แห่งนครพิงค์
    • MSN Messenger - minnakrub@hotmail.com
    • ดูรายละเอียด
สาธุ สาธุ สาธุ คับผม
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะภะกะสะ นะมะอะอุ
สุวิอะนะสะมะ อะสังวิสุโลปุสะพุภะ
สุวะอังอาภะ นิมุปัสสะ

ออฟไลน์ 7day

  • จตุตถะ
  • ****
  • กระทู้: 98
  • เพศ: ชาย
  • KMITNB~~ [--cc37 ™--]
    • ดูรายละเอียด
ตระกรุดดีๆ เด๋วนี้หายากอ่ะครับ
ราคาก็สูง อยากมีของดีไว้บูชาแต่ปัญหาทางการเงินนี่สิ อิอิ......
-----  อยู่ได้เพราะยอม  ยอมได้เพราะรัก -----