แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - เผ่าพงษ์พระกฤษณะ

หน้า: [1]
1
พุทธศาสนิกชนร่วมเดินทางจาริกแสวงบุญ ณ ประเทศอินเดีย - เนปาล 10 วัน   15 พ.ย. 24 พ.ย. 2554 (จำนวน 39 ท่าน)
นมัสการสังเวชนียสถานทั้ง 4 ประสูติ-ตรัสรู้-ปฐมเทศนา-ปรินิพพาน ดั่งพุทธวาจาพระพุทธเจ้า
ที่ตรัสกับพระอานนท์ว่า ดูก่อนพระอานนท์ ชนเหล่าใดเที่ยวจาริกไปยังเจดีย์ 4 สถานที่เหล่านั้นแล้ว
มีจิตเลื่อมใส ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก จักไปถึงสุคติโลกสวรรค์ โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ชำนาญการในดินแดนพุทธภูมิเป็นผู้บรรยายพุทธประวัติ นำสวดมนต์ ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อบูชาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตลอดการเดินทาง

พุทธคยา     สถานที่แห่งการตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ
สารนาถ      ป่าอิสิปัตนมฤคทายวัน สถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนากับปัญจวคีย์
พาราณสี      ล่องแม่น้ำคงคา แม่น้ำแห่งการชำระบาป
กุสินารา       สาลวโนทยาน สถานที่เสด็จดับขันปรินิพพาน
สาวัตถี         เมืองที่พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาอยู่นานที่สุด


Not a valid youtube URL

2
ช่างภาพลายเต็มตัวเลยครับ สุดยอด










ที่สุดยอดอีกอย่างคือ ราคากล้องตัวที่ถือ อยู่อ่ะครับ เฉพาะบอดี้อย่างเดียวแสนกว่าบาท ยังไม่รวมเลนส์ที ถือว่า สุดยอดไม่ธรรมดาเหมือนกันครับ

3
ขอบคุณสำหรับภาพสวยๆ ให้ผู้ที่อยู่ ห่างไกลได้รับชมกันนะครับ

ภาพสวย เทคนิคการถ่ายเยียม มุมมองยอด โพรเซสเทพ

บอกว่าได้คำเดียวว่า "เยี่ยม"

4
ขอบคุณสำหรับภาพ สวยๆ ให้ผู้ที่อยู่แดนไกลได้รับชมกันครับ

ชอบการโทนสีและอารมณ์ การโพรเซส ภาพครับ อยากทำเป็นบ้างแต่ ไม่มีความรู้เลย


5
ขอบคุณมากครับสำหรับภาพสวยงาม ให้คนไกลได้ชมบรรยากาศภายในงาน

ภาพสวยงามมากครับ โดยเฉพาะถ่ายภาพแบบ stop motion สวยๆ หลายภาพเลยครับ

เท่าที่เห็นมีช่างภาพทั้ง ภาพเคลื่อนไหว และ ภาพนิ่ง มีทั้งมือโปรและมือสมัครเล่น ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ มาพร้อมกันในงานนี้จำนวนมากมายเลยทีเดียว บ่งบอกถึงกระแส ความนิยม ของสื่อต่างๆ ได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียวครับ

ขอบคุณครับสำหรับบรรยากาศดีๆ สำหรับผู้ที่อยู่ห่างไกล..

6
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


7
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


8
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


9
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


10
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


11
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี เป็นงานปริวาสกรรมที่หฤโหดเนื่องจากในวันแรกๆ ฝนตกหนักจากนั้นไฟฟ้าดับ น้ำประปาไม่ไหล โทรศัพท์ใช้ไม่ได้ น้ำท่วม(หนัก) ในที่สุดก็ต้องย้ายป่าปริวาสไปวัดท่าโรงช้าง


12
ขอขอบคุณ สำหรับพื้นที่ในการประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร ขออนุญาติเพิ่มเติมข่าวสารประชาสัมพันธ์ต่อเลยนะคับ

แผนที่การเดินทางจากสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี มายังวัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม ระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๕




ดาวน์โหลดไฟล์ กดที่นี่

13
ขอบคุณภาพบรรยากาศมากเลยครับ ผมชอบจังกล้องท่านชัดมากครับอย่างนี้ไม่ถ่ายเล่นแล้วครับมืออาชีพชัดๆครับ

ผมเองแค่หัดถ่ายรูปอ่ะครับ ถ่ายเล่นๆ ไม่ได้เป็นงานเป็นการอะไรกับใครหรอกครับ

14
ณ เวลาปัจจุบัน หลังของเผ่าพงษ์พระกฤษณะ
 






15
ร่วมส่งแรงใจจากต่างแดน ไปยังผู้ประสบภัยน้ำท่วมทุกๆ ท่านด้วยครับ เพราะสถาพอย่างนี้

ก็เคยประสบมาแล้วเมื่อต้นปีที่ผ่านมา ยาก ลำบาก วุ่นวาย เป็นอย่างยิ่ง

ขอให้ทุกท่านอด ทน เข้าไว้นะครับ ความยากลำบากทั้งหลายจะอยู่กับเราไม่นานหรอกครับ เดี๋ยวมันก็จะผ่านไป

อดทน รับสภาพให้ได้ครับ เมื่อผ่านไปแล้วเราจะพบกับสภาวธรรม อย่างแท้จริงครับ

16
ถ้ามีโอกาส.....จะแวะไปชมและนมัสการท่านครับ :054:

ขอบคุณครับ  และ ยินดีต้อนรับ ครับ

ถ้ามีโอกาสก็ มา ตอนงานปริวาสกรรมประจำปีของทางวัดก็ได้ครับมาพร้อม อาจารย์โด่งก็ได้ครับ  จะได้พบปะสังสรร กับลูกศิษย์อาจารย์โด่งที่นี่กันบ้างอ่ะครับ

17
ภาพสวยมากครับ ใช้ฟิวเตอร์ CPL ด้วยหรือป่าว สีท้องฟ้าอิ่มดี ครับ ถ้าเสร็จสมบูรณ์แล้วคงจะสวยน่าดู
ไม่ได้ใช้ฟิวเตอร์ ครับผม ไปถ่ายตอนประมาณ บ่ายโมง อากาศร้อนพอสมควร เมื่อต้องการภาพท้องฟ้าสดใส ก็ต้องแลกกับอากาศที่ร้อนๆ เอาครับ

18
ภาพสวยมากๆค่ะ  :053: ตอนนี้ยังไม่แล้วเสร็จใช่ไหมคะพี่
ขอบคุณมากครับ
ตอนนี้ยังไม่เสร็จ ถูกต้องแล้วครับ อยู่ในระหว่างการก่อสร้างในส่วนของลวดลายศิลปศรีวิชัยตามแบบที่ได้วางเอาไว้ครับ

19
ภาพสวยงามครับท่าน
ขอบคุณมากครับที่เข้ามาดู พอดีกลัับมาเมืองไทยช่วงสั้นๆ ถ่ายภาพแล้วรู้สึกว่าชอบก็เลยนำมาแบ่งปันกันชมครับ ตอนนี้ก็กำลังเดินทางไปต่างแดนอีกแล้วครับ

20
เพิ่มเติมอีก







ส่งท้ายด้วยภาพนี้ก่อนลาเมืองไทยอีกครั้งครับ

24
ขออนุญาติเพิ่มรูปนะครับ พอดีช่วงนี้กลับมาเมืองไทย และวันนี้ เห็นแสงสวยๆ จึงไปเก็บภาพเพิ่มเติมมาลงในกระทู้นี้







25
ถ่ายภาพได้ดีจริงๆ..ได้บรรยากาศมากครับ 36; 36;
                                 
ขอบพระคุณท่าน เผ่าพงษ์พระกฤษณะ ที่นำภาพเวียนเทียน มาให้พี่น้องศิษย์วัดบางพระได้ชมครับ
                                                                                                                                                 
ป.ล ชอบสุดๆภาพ พระแสดงธรรมเทศนา คนที่เข้าร่วมฟังเทศน์ซึ้งในรสพระธรรมจนกลั้นน้ำตาไม่อยู่
                                 พ                                                                                                    
(ขออนุญาตเข้ามาชมภาพ ขอบพระคุณมากครับ) :054: :054:

ขอบคุณมากครับ ที่เข้ามาชม ถือเป็นกำลังใจของผู้สร้างสรรค์ผลงานต่อไป มุมมองในการนำเสนอ หรือ การถ่ายภาพของผมจะนำเสนอในเรื่องของ ประเพณี วัฒนธรรม และความศรัทธา ของพุทธศาสนิกชน โดยภาพรวมครับผม




ทำหน้าที่ได้ดีเยี่ยม ขออนุโมทนา
กลับมาเมืองไทย ค่อยคุยกัน
:054: :054: :054: กราบขอบพระคุณพระอาจารย์มากครับ ที่พระอาจารย์ให้กำลังใจ ถือเป็นกำลังใจอันยิ่งในการสร้างสรรค์ผลงานในโอกาสต่อไปคับ

ปล.ตอนนี้ผมกลับมาเยี่ยมเมืองไทย ๓ วันครับ จะเดินทางกลับไปมาเลย์ รุ่งเช้าของวันพรุ่งนี้ครับ ตอนนี้พักอยู่กุฏิหลวงแดน ครับ

กราบคารวะ พระอาจารย์ครับผม :054: :054: :054:



กราบขอบพระคุณ :054: ท่านเผ่าพงษ์พระกฤษณะ และ ท่าน  เหล่ากอพระกฤษณะ (คงเป็นท่านเดียวกัน :002:) ที่นำเรื่องราวและภาพงดงามมาแบ่งปันกันให้ชมครับ

ขอบคุณมากครับที่เข้ามาชมผลงานภาพถ่าย
เป็นคนเดียวกันครับ มาจากคำว่า "พงษ์" หมายถึง เหล่าก่อ หรือ เผ่าพงษ์ คับผม

27
หลังจากเวียนเทียนครบ ๓ รอบ แล้วก็พากันแยกย้ายเอาดอกไม้ธูปเทียนของตนไปวางในที่ต่างๆ










28
สไนเปอร์ ยิงไกล เวียนเทียน ชัดสุดได้มาแค่นี้ครับผม










29
พอถึงเวลาเวียนเทียนจริงๆ ฝนก็ลดลงทำให้ออกไปเวียนเทียนรอบอุโบสถได้ แต่ก็ยังมีฝนพรำๆ ทำให้ต้องถ่ายภาพไปจากระยะไกลเพราะกล้องไม่สู้ฝนครับผม










30
กิจกรรมช่วงค่ำก่อนการเวียนเทียน แต่เนื่องจากฝนตก สถานที่ในอุโบสถก็คับแคบจึงมาจัดพิธีกันในโรงธรรม




 

31
มาถึงพิธีการในช่วงกลางคืนกันบ้าง เริ่มด้วยการแสดงพระธรรมเทศนาก่อนการเวียนเทียน










32
ต่อไปก็มาดูเด็กๆ กันซักนิดก่อนพิธีเวียนเทียนจะเริ่มขึ้น




33
ทำความสะอาดรอบอุโบสถต่อครับ เพราะกดมาเยอะ เลย










34
ทำความสะอาดรอบอุโบสถต่อครับ เพราะกดมาเยอะ เลย









35
ก่อนการเวียนเทียนในวันวิสาขบูชา บรรดาผู้ที่มาบวชชี ต่างช่วยกันทำความสะอาดบริเวณรอบๆ อุโบสถวัดบุญญาราม รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย เห็นแล้วน่าสนใจดี ก็เลยเก็บภาพมาฝากกัน (คนต่างชาติต่างภาษาแท้ๆ แต่วัฒนธรรม และ ศรัทธา ไม่แตกต่างกันเลยแถมยังยึดมั่นมากกว่า คนไทยที่ใช้กรอกข้อความอย่างภาคภูมิใจว่าศาสนาพุทธซะอีก)










36
เมื่อแสดงพระธรรมเทศนาเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ฉันภัตตาหารเพล กัน ครับ แต่จะบอกว่าเวลาที่นี่เร็วกว่าเมืองไทย ๑ ชั่วโมงครับผม ต้องปรับเรื่องปากท้องนิดหน่อย







37
เมื่อคนไทย เชื้อสายจีน ในดินแดนมาเลเซีย ปะทะ กับ การแสดงธรรมเทศนาของพระธรรมกถึก อะไรจะเกิดขึ้น







38
เมื่อคนไทย เชื้อสายจีน ในดินแดนมาเลเซีย ปะทะ กับ การแสดงธรรมเทศนาของพระธรรมกถึก อะไรจะเกิดขึ้น









39
เวลาประมาณ ๑๐.๐๐ น. ที่นี่(ประมาณ ๙.๐๐ น.ที่เมืองไทย) ก็จะมีพระแสดงธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ ผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติธรรมเนื่องในวันวิสาขบูชาทั้งหมดเข้าร่วมกิจกรรมฟังธรรมในครั้งนี้

แต่ความลำบากอยู่ตรงที่ ผู้เข้าบวชเป็นคนไทยเชื้อสายจีนซะส่วนใหญ่ ทำให้การสื่อสารในการเทศนา ทำได้อย่างลำบากต้องมีล่ามช่วยแปลกันให้วุ่นวาย

แต่จากสิ่งที่ได้เห็นก็ยังดีใจที่ยังมีคนเห็นคุณค่าของพระศาสนาถึงแม้จะอยากลำบากในการสื่อสาร แต่ด้วยศรัทธา ก็ยังมาบวชกันมากมาย



มาดูท่านผู้ฟังกันบ้าง












40
ขออนุญาตินำเอารูปเก่าๆ เมื่อตอนนงานวิสาขบูชา ณ ประเทศมาเลเซีย มาโพส ในพื้นที่แห่งนี้หน่อยนะครับ
:017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017:

วันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ทางวัดบุญญาราม รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย ได้จัดงานเวียนเทียนเนื่องในวันวิสาขบูชา ซึ่งตลอดเวลาของพิธีมีฝนตกพรำๆ อยู่ตลอด ซึ่งได้นำภาพกิจกรรมตั้งแต่ตอนเช้า ในงานนี้มีการบวชพระและชีพราหมณ์ เพื่อเข้าร่วมในกิจกรรมนี้ด้วย ตอนกลางวันจึงได้เก็บภาพกิจกรรมของพระและชีพราหมณ์ มาฝากกันด้วย

ขออภัยที่ต้องลงลายน้ำในภาพขนาดนี้เพราะคนที่นี่ แย่กว่าที่เมืองไทยเรื่องลิขสิทธิ์ทางปัญญาจ้องแต่จะเอาอย่างเดียวมีบางคนเล่นเอาฮาร์ดดิสก์มาให้เราก๊อปรูปให้เลย ซึ่งเหมือนกับเป็นการดูถูกคุณค่างานที่เราถ่ายเลย ถึงผมจะถ่ายภาพไม่สวย ไม่เด่น แต่ความภาคภูมิใจในการถ่ายภาพ ผมมีเต็มเปี่ยม จึงทำให้ต้องลงลายน้ำซะหนังเลย จะเลือกรูปใหม่ เวลาก็มีน้อยก็เลยเลือกรูปที่ลงลายน้ำเสร็จแล้วมาลง ต้องขอ อภัยท่านผู้ชมไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ











41
คนสายเลือดไทยในมาเลเซีย ยังมีวัฒนธรรม และ ความสามัคคี กันเป็นอย่างดี มีการถ่ายทีถ้อยอาศัยกันมีอะไรก็แบ่งปันกันไม่แก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน

ผมยังมีภาพชุดศูนย์การเรียนกาิรสอนที่ผมทำหน้าที่อยู่แต่เกรงว่าจะไม่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของทางเว็บก็เลยไม่ได้นำมาโพสไว้อะครับ เด็กไทย สัญชาติมาเลย์ ยังมีความเคารพต่อครูบาอาจารย์สูงกว่าเด็กไทยสมัยนี้มากมายเลยครับ

42
ผมเน้นถ่ายภาพเล่าเรื่องราวอ่ะ ครับ เพราะถ้าถ่ายภาพแนวศิลป์ ผมยังห่างไกลความเจริญมากมายเลยครับ ก็เลยอาศัยถ่ายภาพเื่พื่อเล่าเรื่องราวเอาครับ ถึงภาพไม่ค่อยงดงามเท่าไหร่ แต่เสริมด้วยเนื้อหาสาระและเรื่องราวก็พอช่วยได้บ้างครับผม

มีคนเคยกล่าวไว้ว่า "ภาพ ๑ ภาพ มีค่าเท่ากับคำพูด ๑,๐๐๐ คำ"

43
มีโอกาสถึง มีนาคม ปีหน้าครับเพราะผมจะเสร็จสิ้นภารกิจ จากที่นี่ แล้วครับ 


โดยส่วนตัวอยากมีโอกาสแก้ตัวอีกซักครั้ง โดยที่ไม่ติดข้อจำกัดเรื่องเวลา น่าจะถ่ายภาพได้ดีกว่านี้ ได้เดินเลือกมุม ได้มีเวลาพิถีพิถัน เรืองแสง เรื่องการถ่ายภาพได้มากกว่านี้ รวมทั้งได้เรื่องราวเกี่ยวกับสถานที่มากกว่านี้ ครับผม

44
ขอบคุณมากครับ ที่เข้ามาชมภาพ และ แสดงความคิดเห็นในกระทู้ อย่างน้อยก็เป็นกำลังใจให้ผู้นำเสนอได้เป็นอย่างดี เพราะจะได้รู้ว่ามีคนดูอยู่อย่างน้อยก็ ๑ คน คือคนที่แสดงความคิดเห็นภายในกระทู้ครับ  :053: :053: :053:

45
ขอบคุณมากครับ ที่เข้ามาชมผลงานภาพถ่ายของกระผม จะได้รู้ว่ามีเสียงตอบรับจากหมายเลขที่ท่านเรียกอยู่

เรื่องของวัดไชยมังคลาราม เป็นวัดไทยบนเกาะปีนัง ประเทศมาเลเซีย

อ้างถึง
วัดไทยไชยมังคลาราม เป็นวัดไทย ตั้งอยู่เลขที่ 17 ถนนพม่า เขตปูเลาติกุส รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย โดยตัววัดตั้งอยู่ตรงกันข้ามกับ วัดพม่าธรรมิการาม ซึ่งเป็นวัดพม่าที่มีชื่อเสียงของรัฐปีนัง วัดไชยมังคลารามเป็นวัดไทยที่มีชื่อเสียงมานานบนเกาะปีนัง โดยภายในอุโบสถมีพระนอนยาวที่สุดในประเทศมาเลเซีย โดยมีความยาว 108 ฟุต สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2500 โดยมีชื่อว่าพระพุทธชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานนามให้ในคราวเสด็จประพาสเมื่อ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2505
วัดไชยมังคลารามเป็นวัดเก่าแก่ สร้างในปี พ.ศ. 2388 มีอายุกว่า 160 ปี สร้างโดยบริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) ซึ่งเป็นบริษัทการค้าของอังกฤษในนามของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ศิลปะของวัดไชยมังคลารามนั้นเป็นการผสมผสานระหว่างศิลปะไทย พม่า และจีนเข้าด้วยกัน ซึ่งทำให้วัดแห่งนี้มีสีสันสะดุดตา ดูแปลกไปจากวัดในประเทศไทย ที่เน้นศิลปะที่อ่อนช้อย แต่ศิลปะของวัดแห่งนี้จะเป็นแบบเรียบ ไม่มีการแกะสลัก ทำลวดลายให้ดูวิจิตรมากนัก
ทุกวันนี้บนเกาะปีนังก็มีคนไทยที่สืบเชื้อสายจากคนรุ่นก่อนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากมาก และประชากรส่วนใหญ่ในปีนังเป็นคนเชื้อสายจีนที่เข้ามาทำมาค้าขาย และนับถือศาสนาพุทธ ทำให้เกาะปีนังมีวัดไทยที่เป็นศูนย์รวมของชาวพุทธ มีกิจกรรมทางศาสนาในวันสำคัญ

ขออนุญาติและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

46
ขอบคุณสำหรับการเข้ามารับชมภาพ และ แสดงความคิดเห็น ทำให้ได้รู้ว่ามีคนดูอยู่ครับ

สะพานข้ามทะเลนอกจากสวยแล้ว ยังมีความยาวเป็นอันดับที่ ๓ ของโลกด้วยอ่ะ ครับ ส่วนวัดพม่า มีรายละเอียดใหุ้ถ่ายภาพเยอะ มากๆ ครับ เสียนิดเดียวเวลาที่จะให้ได้เ็ก็บเกี่ยวความรู้สึกเหล่านั้นมีแค่น้อยนิดครับ จึงต้องทำงานแข่งกับเวลา ทำให้ขาดความปราณีต และ พิถีพิถัน ในการถ่ายภาพไปบ้างเหมือนกันอ่ะ ครับ

ส่วนเนื้อหาเกี่ยวกับวัดพม่าธรรมิการาม
อ้างถึง
เมื่อเข้าไปภายในวัดพม่าก็อดทึ่งในความวิจิตรงดงามไม่ได้ว่า มีความปราณีตสวยงามมาก พระพุทธรูปยืนเป็นรูปสลักจากหยก สีขาว โดดเด่นอยู่กลางวิหาร แม้พระพักตร์อาจดูไม่ขลังและสง่าเหมือนพระไทย แต่ก็วิจิตรงดงาม น่าทึ่งมาก และยิ่งมีฉากด้านหลังเป็นไม้สักทาสีทองด้วย ก็ยิ่งเพิ่มความงดงามมากขึ้น พระพม่านี้้ดูแล้วอาจไม่เหมือนกับที่เห็นจากภาพถ่ายหรือจากภาพยนต์สารคดี   น่าจะออกไปทางศิลปะแบบจีนผสมผสาน.... แต่ไม่ว่าจะเป็นศิลปะแบบใด ก็ทำให้วัดพม่าแห่งนี้เป็นที่ดึงดูดชาวพุทธจากทุกชาติให้เข้ามาเยี่ยมชมและกราบไหว้ได้สนิทใจเช่นเดียวกับพระพุทธรูปทั่วไป..


47
สิ้นสุดการนำเสนอในชุดนี้ไว้เีพียงเท่านี้ครับ

ผิดพลาดประการใดก็ขอ อภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ

เนื่องจากภาพชุดนี้ เกิดอาการปวดหัว(จากการขาดกาแฟ) อย่างรุนแรง จึงขาดความพิถีพิถัน ในการถ่าย ภาพออกมาจึงได้แค่นี้ ****อิอิอิ ต้องหาข้ออ้างก่อน เรื่องของเรื่องคือไม่ว่ายังไงก็ถ่ายได้แค่นี้แหละ


ขอคำแนะนำด้วยนะครับ ต้องปรับปรุง ตรงจุดไหน อย่างไรบ้าง เพื่อจะได้นำไปฝึกฝนต่อไป

ขอส่งท้ายด้วยภาพนี้แล้วกัน นานๆ ทีจะเจอรถแบบนี้ในมาเลเซีย ก็เลย กดมาซะ แต่ก็ยากส์ลำบาก พอสมควรเพราะรถทั้ง ๒ คันกำลังวิ่งอยู่ และ เจ้ารถทัวร์ มันก็โครงยิ่งกว่าเรือหล่าว กว่าจะได้ภาพนี้มา หนุกดี ได้ยินเสียงมันมาก่อนทางด้านข้างก็เลยยกล้องรอเอาไว้เลย พอขึ้นเทียบเห็นหัวเท่านั้น ใส่เป็นชุดเหมือนปีนกลเลย คัดแล้วได้มาแค่ภาพเดียวนี้แหละ 55555555





การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้

ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#2

48
จากนั้นก็เดินทางออกจากเกาะปีนัง เพื่อกลับสู่ที่พักต่อไป ข้ามสะพานปีนัง




49
มาดูด้านหน้าโรงพระจีนกันบ้าง สิ่งที่เห็น ก็เป็นเช่นนี้ครับ




50
บรรยากาศภายในโรงพระจีน ตกแต่ง เป็นระเบียบเรียบร้อยดี เป็นแถว เป็นแนวดี เหมาะแก่การถ่ายภาพเป็นอย่างยิ่ง เสียแต่ว่าคนถ่ายฝีมือไม่ถึง มุมมองยังไม่แตกฉาน ไม่งั้นคงได้ภาพแจ่มๆ เยอะเลย






52
สถานที่ต่อไป เป็นโรงพระจีนครับ ไกด์ พาเรามาดู ค้างคาวกัน เห้อ ถ้ารู้ว่าจะมาดุค้างคาว จะบอกไกด์ว่า ไม่ดูหรอกแถวบ้านก็มี ยิ่งพอไปถึงเจอค้างคาว นับตัวได้อีกยิ่งหมดแรงเลยนิ


53
จากนั้นลงมาสู่ด้านล่างๆ ลงมาพบกับร้านค้า ซึ่งวางขายสิ่งเหล่านี้  จนถึงปัจจุบัน ตัวข้าพเจ้าก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้ว่า ตกลง ธรรมชาติสรรค์สร้าง หรือ มนุษย์ประดิษฐ์ มันขึ้นมากันแน่เนื่ย ทำไมมันมากมายและวางขายกันเกลื่อนกลาดขนาดนี้




55
ตอนนี้เป็นช่วงเวลาของการหันหลังกลับลงมาสู่เบื้องล่างแล้วครับ ระหว่างทางก็แวะเก็บภาพไปเรื่อยๆ เอื่อยๆ ตามประสาคนหม้ายไหรครับ





57
สถานที่ยังมีที่สูงกว่าีนี้ แต่ชาวคณะมาได้สูงสุดแค่นี้ครับ ที่เหลือขอบาย ครับ ไว้โอกาสหน้าแล้วกันเพราะต้องรีบกลับมาที่รถทัวร์ให้ทันเวลาครับ





58
หลังจากที่ขึ้นไปอยู่ที่สูงในระดับหนึ่งแล้วก็ลองถ่ายลงมามุมต่ำๆ กว้างๆ ดูบ้าง


60
การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้

ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#2


:017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017:


ขึ้นมาอีกนีดมีห้องโถงใหญ่ให้ได้ถ่ายรูปและพักผ่อนจากอาการลิ้นห้อยได้เป็นอย่างดี ก็เลยหยุดอยู่แถวนี้นานหน่อย






61
ข้างบนยังมีที่รอให้ขึ้นไปอีก เห้อ ตอนนี้ ลิ้นเริ่มจะห้อยกันแล้วครับ



การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#3

63
เมื่อขึ้นไปถึงอีกระดับหนึ่งมีจุดให้ชมวิว เมืองปีนังก็เลยพักให้ลิ้นหายห้อย ซะหน่อยก่อนจะออกเดินทางขึ้นไปด้านบนอีก






64
มุ่งหน้าขึ้นไปสู้ด้านบนขึ้นไปอีก ระหว่างก็ยังเก็บไปเรื่อยๆ




66
เมื่อขึ้นมาได้ระดังหนึ่งมองลงไปด้านล่าง ยังมีการก่อสร้าง ต่างๆ อีกมากมาย




67
จากนั้นก็เดินทางต่อไปยังวัดจีน บน เกาะปีนัง ซึ่งมีเจ้าแม่กวนอิมอยู่บนเขา ซึ่งเป็นงานเหนื่อยมากสำหรับข้าพเจ้า เพราะต้องเดินขึ้นเขา หอบ แฮ๊กๆ เลยกว่าจะได้รูของวัดนี้มา




68
สิ่งสุดท้ายที่เหลือบสายตาไปเห็นก่อนจะต้องรีบขึ้นรถ ก็เลยกดจากระยะไกลๆ ๆ ๆ ๆ มากๆ และ ต้องกดด้วยความรวดเร็วสูงด้วยเพราะรถรออยู่แล้ว เนื่องจากทริปนี้เป็นการทัวร์ฉี่ครับ ฉี่ไม่ทันเสร็จจะไปกันอีกแล่ว


69
มีนักท่องเทียวเข้ามาสักการะกันมากหน้าหลายตา ต่างเชื้อชาิิติ ต่างศาสนา





72
การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#3


:017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017:


ต่อไปก็มาถึงวัดไทย บน เกาะปีนัง ประเทศมาเลเซียกันบ้าง ซึ่งอยุ่คนละฝั่งถนนกับวัดพม่า บน เกาะปีนัง

ซึ่งวัดไทยนี้มีชื่อว่า วัดไชยมังคลาราม มีพระนอนองค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่ภายในวัด

บริเวณด้านนอก






73
รอบนี้ได้แต่ภาพมาอย่างเดียว ไม่มีำไกด์ ส่วนตัวเลย เรื่องข้อมูลไม่ค่อยทราบอะไรเลยครับ อย่างสิ่งนี้คืออะไรไม่รู้ แต่สีสันสวยงามดีเหลือเกิน ตลอดจนภายในปูด้วยหินอ่อนทั้งหมด




การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#2


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#3

74
เดินมาทางด้านข้าง และ ด้านหลัง ตามลำดับ






75
ภายในมีพระยืนองค์ใหญ่ให้ได้เคารพสักการะกัน






76
วัดพม่า บน เกาะปีนัง ประเทศมาเลเซีย






77
หลังจากออกจากงานเรียบร้อยแล้ว ก่อนกลับก็ขอให้รถทัวร์ พาเที่ยวเกาะปีนังกันก่อน แต่ต้องจ่ายเงินเพิ่มกันโดยทั่วหน้ากัน แต่ไหนๆ ก็ ไหนๆ แล้ว อุตส่าห์ข้ามน้ำข้ามทะเลมาตั้งไกล จะเสียเวลาเปล่าทำไม จ่ายก็จ่ายง่ะ ตกลงก็ยอมจ่ายกันทั้งคัน

สถานที่แรกทีี่ไปแวะก็คือวัด พม่า บน เกาะปีนัง ประเทศมาเลเซีย ซึ่งอยุ่คนละฝั่งถนนกับวัดไทย บนเกาะปีนัง






78
ที่หน้างานมีการวางดอกไม้ไว้อย่างสวยงาม แต่เมื่อเสร็จพิธีผู้ที่มาร่วมงานต่างช่วยกันคนละไม้คนละมือ ช่วยกันเอากลับบ้าน






79
หลังจากอิ่มท้องแล้วก็เที่ยวเก็บภาพบรรยากาศ รอบๆ งาน รู้สึกว่าจะเป็น ตึก Penang Times Square ด้านหน้าจะมีโบสถ์พราหมณ์ ด้วย






80
กว่าจะไปถึงงานได้ โชว์เฟอร์ เล่นพาหลงเกือบทั่วเกาะปีนัง เมื่อไปถึงงานก็ได้เวลาอาหาร จึงต้องไปจัดการเรื่องอาหารให้เรียบร้อยก่อน เลยไม่ได้บันทึกภาพตอนไปถึงงานใหม่ ก็เลยมีภาพตอนที่เข้าร่วมในงานมาฝากกันครับ








81
การนำเสนอในครั้งนี้กระผมขออนุญาติ แบ่งย่อยกระทู้ให้สั้นลง เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของสมาชิกที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูง โดยสามารถเข้าไปดูกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ได้ดังต่อไปนี้


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#2


ปีนัง ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเกาะหมากของไทย แต่วันนี้ไม่ใช่ ทำให้ความศิวิไลซ์เลิศหรูอลังการ#3


:017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017: :017:


เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ผ่านมาได้ไปร่วมงาน 2001 International Maha Samghika Dama ณ เกาะปีนัง ประเทศมาเลเซีย ในการเดินทางต้องผ่านสะพานเพื่อข้ามไปยังเกาะปีนัง


อ้างถึง
สะพานปีนัง ( Penang Bridge ) ที่ยาวสุดลูกหูลูกตา เฉพาะตัวสะพานที่อยู่เหนือพ​้นน้ำยาว 8.5 กม. และหากนับจากฐานทั้งสองฝั่ง​หรือทางลาดจะมีความยาว 13.5 กม. ปัจจุบันสะพานปีนังอยู่ในอั​นดับ 3 ของโลก โดยมีสะพานข้ามอ่าว หังโจว ( Hangzhou )ของประเทศจีนยาวเป็นอันดับ​ 1 มีความยาวสะพานในส่วนที่เหน​ือน้ำ 36 กม. เชื่อมเมือง เซี่ยงไฮ้ (Shanghai) กับ เมืองท่าเจ้อเจียง (Zhejiang) คาดว่าจะแล้วเสร็จไม่เกินสิ​้นปี 2550 นี้ ก่อนถึงงานโอลิมปิคในอีก 2 ปีข้างหน้า หรือ ค.ศ 2008 ที่จีนเป็นเจ้าภาพ สะพานปีนังใช้เวลาข้ามประมา​ณ 15 นาที ตามความเร็วที่กำหนดราว 70 กม./ชม ในความรู้สึกขณะนั่งรถข้ามส​ะพาน ต้องบอกว่ายิ่งใหญ่ทีเดียว เป็นผลงานในสมัยของรัฐบาล ดร.มหาเธย์ โมหะหมัด เช่นเดียวกับตึกแฝด หรือ ตึกปิโตรนัส ( Petronas) กลางกรุงกัวลาลัมเปอร์


ในการเดินทางข้ามสะพาน ก็ได้บันทึกภาพได้เล็กๆ น้อยๆ เพราะว่ารถทัวร์ที่นำคณะไปไม่ได้จอดให้บันทึกภาำพ ก็เลย ถ่ายมันขณะที่รถวิ่งนั่นแหละ ภาพที่ได้ก็ออกมาประมาณนี้ครับผม









82
จงมีสติและสัมปชัญญะ ในการคิด การพูดและการกระทำ
ดูแลรักษาตนเองให้ดี ทำหน้าที่ของเราให้ถูกต้องสมบูรณ์
คุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ บุญกุศลรักษา

กราบคารวะพระอาจารย์โด่ง  :054: :054: :054:

ศิษย์จะน้อมนำเอาคำสั่งสอนของพระอาจารย์ มาปฏิบัติอย่างเคร่งครัดครับ เพราะที่นี่ไม่ใช่บ้านเมืองของตัวเอง มีหลายสิ่งหลายอย่างที่ต้องระวังทุกๆ อิริยาบถ ทั้งยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด และ คิด ต้องมีสติ สัมปชัญญะ อยู่ตลอดเวลา ทำอะไรตามสบายเหมือนเมืองไทยไม่ได้เลยครับ

ยิ่งได้ทราบข่าวเจ้าอาวาสวัดท่าโรงช้าง จากเมืองไทยแล้วด้วย ยิ่งต้องระวังเป็นอย่างสูง ถึงสูงที่สุดเลยครับ

ก็ยังดี ที่พระอาจารย์ยังได้คอยชี้แนะ และ แนะนำได้เสมอเมื่อเริ่มสับสน และ วุ่นวายกับชีวิต คำสอนของพระอาจารย์ทุกคำเหมือนพระอาจารย์จะรู้ว่าศิษย์กำลังเจออะไรอยู่ ซึ่งมันช่วยได้มากๆ จริงๆ กับสิ่งที่กำลังเจออยู่ในตอนนี้

ตอนนี้ก็หวังว่าสิ่งที่ผมกำลังทำคือสิ่งดีงาม หวังว่าคุณพระศรีรัตนตรัย และ บุญกุศลจะคอยช่วยคุ้มครอง ให้อยู่รอดปลอดภัย ได้กลับเมืองไทยอย่างสมบูรณ์เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจครับ

ศิษย์มีครูถึงจะยากแต่ก็ไม่นาน ขอขอบพระคุณ พระอาจารย์โด่งสำหรับทุกคำสั่ง และ คำสอน ที่ชี้ทางสว่างให้ศิษย์ได้มองเห็นในวันนี้  :054: :054: :054:


83
จับภาพทั้งหมดมารวมกันไว้เป็นสไลด์

[youtube=390,240]HTZL47D3ewQ&autoplay=1&loop=1[/youtube]

84
ขออนุญาตินำเสนอไว้เพียงแ่ค่นี้ก่อนนะครับ

ขอสิ้นสุดการนำเสนอไว้ด้วยภาพแม่ชีช่วยกันทำความสะอาดอุโบสถและมณฑปอดีตเจ้าอาวาส นะครับ





85
งานบุญเวียนเทียน ณ วัดบุญญาราม ตำบลอะห์ อำเำภอกูบังปาสู รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย






87
พระเทพมงคลญาณ(คลิ้ง  จิตฺตปาโล) อดีตเจ้าคณะรัฐเคดาห์-เปอร์ลิส เและ เจ้าอาวาสวัดบุญญาราม




88
ส่วนที่เห็นในภาพก็คือ ฌาปณสถาน และ สถานที่เก็บกระดู(ซึ่งค่าเช่าพื้นที่แพงมากๆ ช่อง 4 เหลื่ยมขนาดแค่ใ่ส่กระดูกได้ ช่องละเป็นหมื่นเป็นแสนก็มี ) วัดบุญญาราม ตำบลอะห์ อำเภอกูบังปาสู รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย


89
ส่วนภาพนี้เป็น โรงฉัน ของวัดบุญญาราม ตำบลอะห์ อำเภอกูบังปาสู รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลยเซีย ตัวอาคารเป็นอาคาร ๓ ชั้น


90
มาดูอุโบสถวัดบุญญาราม ตำบลอะห์ อำเภอกูบังปาสู รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซียกันบ้าง





ส่วนภาพนี้คือพระประธานภายในอุโบสถ ถ่ายลอดจากซุ้มพัทธสีมา

92
บริเวณลานหน้าอุโบสถ เป็นที่จอดรถทำให้มีพื้นที่กว้างและโล่ง




ส่วนด้านล่างนี้คือ มณฑป อดีตเจ้าอาวาสองค์ก่อน



94
อ้างถึง
วัดบุญญาราม เขตปาดังเซรา เป็นที่ตั้งของโรงเรียนภาษาไทย ซึ่งเปิดการเรียนสอนมานานกว่า ๖๐ ปี โดย พระเทพมงคลญาณ อดีพเจ้าอาวาสดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดยทำหน้าที่ในการสอนภาษาไทยแก่คนไทยมาเลย์ทั้งหลายที่มีอยู่จำนวนมากใน ละแวกวัดนี้ รวมทั้งการอบรมสั่งสอนให้รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และความรู้ความเข้าใจในหลักพระพุทธศาสนาที่ถูกต้อง  วัดบุญญาราม นี้จึงถือเป็นศูนย์กลางของคนไทยมาเลย์ในรัฐเกดะห์ที่พวกเราคนไทยในเมืองไทย ควรจะสนับสนุนในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการทำบุญทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ถวายเครื่องอัฏบริขารต่างๆ รวมจนถึงหนังสือภาษาไทย ทั้งที่เป็นตำราเรียน และหนังสืออ่านประกอบอื่นๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่คนไทยมาเลย์มีความต้องการมากที่สุด เพื่อให้ลูกหลานคนไทยที่นั่นมีหนังสืออ่านเขียน ไม่ลืมภาษาไทยของบรรพบุรุษ เป็นความปรารถนาของหลวงพ่อก่อนที่ท่านจะมรณภาพ






95
กราบคาราวะ พระอาจารย์  :054: :054: :054: ครับ

สำหรับกวีบทนี้ทำให้ศิษย์ได้ข้อคิดอะไรดีๆ มากมาย เลยครับ

ขอบพระคุณท่านอาจารย์ที่ไ้ด้ชี้ทางสว่างให้ศิษย์ ในการใช้ชีวิต การทำงาน หน้าที่ และภาระที่ต้องรับผิดชอบ

ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ที่มีสติ อยู่ตลอดเวลา ทำแต่สิ่งดีๆ ที่เป็นกุศล

แต่ที่สำคัญอย่าโง่ เอาภาระหน้าที่มามาทำให้จิตใจหม่นหมองกลายเป็นความทุกข์ทำให้จิตตกไม่มีกำลังใจทำงานในที่สุด

ขอบคุณพระอาจารย์มากๆ ครับ สำหรับทางสว่างในการใช้ชีวิตยังต่างถิ่น ต่างที่ ต่างแดน

ครูบา อาจารย์ เป็นที่พึ่งได้เสมอเมื่อเราทุกข์ กายใจ


กราบคาราวะ พระจารย์โด่ง ที่นับถืออย่างสูง  :054: :054: :054:

96
ทำหน้าที่ของเราให้สมบูรณ์และเต็มที่...ผลมันจะออกมาเป็นอย่างไรเป็นเรื่องของกรรม
แต่ความภาคภูมิใจนั้นคือ...เราได้ทำเต็มที่แล้ว...รักษาสุขภาพด้วย.....
พุทธังรักษา...ธัมมังรักษา...สังฆังรักษา...เทวดารักษา...บุญกุศลรักษา...

สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ

จะทำหน้าที่ทุกสิ่งให้เต็มที่ เต็มกำลังความสามารถ ครับ อย่างน้อยก็ได้ภูมิใจ ว่าได้ทำเต็มที่แล้ว

ส่วนประโยคนี้ "พุทธังรักษา...ธัมมังรักษา...สังฆังรักษา...เทวดารักษา...บุญกุศลรักษา..." ขอจงประสิทธิเม ด้วยคับแถวนี้ ต้องระวังทุกอิริยาบถเพราะยาสั่ง(ของคนแขก) เยอะ มากๆ

97
ศิษย์ขอ กราบคาราวะ พระอาจารย์ ครับผม :054: :054: :054:


ช่วงนี้ศิษย์อยู่ต่างแดน เรื่องของการให้บริการอินเตอร์เน็ตค่อนข้างจำกัด ทำให้ไม่ค่อยเข้ามากราบพระอาจารย์

ไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลแค่ไหน แต่คำสั่ง และ คำสอน ที่พระอาจารย์เคยสั่ง และ เคยสอน ตอนนี้ได้นำมาใช้งานจริงๆ ยังต่างแดน จำเป็นต้องใช้ธรรมะ เข้าสู้อย่างมากมาย

รวมทั้งการอยู่ให้เห็นของพระอาจารย์ ทำให้ตอนนี้ศิษย์ต้องนำมาใช้ ในการใช้ชีวิตยังต่างแดนหลายสิ่งหลายอย่าง

บางครั้งที่ศิษย์ได้เข้ามาอ่านคำสั่ง และ คำสอนของพระอาจารย์ในเว็บทำให้ได้อุ่นใจว่ายังมีพระอาจารย์อยู่ใกล้ๆ เสมอ

ไปลามาไหว้ :054: :054: :054:

98
ภาพที่ศาลาเรือนพักสำหรับลูกศิษย์น่าอยู่มากๆ
มี 1 ห้องนอนใหญ่ 3 ห้องนอนเล็ก
และลานเสวนาตรงกลาง



ขอบคุณมากครับสำหรับภาพถ่าย เกี่ยวกับท่านอาจารย์โด่ง

หวังไว้ว่าซักวันคงจะได้ไปพักยังที่แห่งนี้ แต่สำหรับตอนนี้ต้องอยู่ห่างไกลถึงต่างประเทศเป็นเวลาแรมปี

ปีหน้าคว้าใหม่ อนาคตจะเป็นอย่างไรในต่างแดนยังไม่รู้ แต่สำหรับปีนี้คงต้องใช้ชีวิตอยู่ที่นี่เป็นแรมปี

แต่ศิษย์ผู้นี้ก็ยังระลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ ไม่เคยเปลี่ยนแปลง

ศิษย์ขอกราบสักการะ ท่านอาจารย์โด่ง
 :054: :054: :054:

99
ขอบคุณสำหรับภาพบรรยากาศ ที่นำมาให้ผู้ที่อยู่ห่างไกล ได้รับชมกันครับ

100
สุดยอดมากๆครับ เข้มขลังมากๆครับผม 25; 25;
                               
ขอขอบคุณท่าน เผ่าพงษ์พระกฤษณะ ได้นำภาพงานพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลรุ่นแซยิด๘๘ มาให้พี่น้องศิษย์วัดบางพระได้ชมครับ :054: :054:
                                                                                                                           
ถ่ายภาพได้บรรยากาศมากเลยครับ ชอบทุกภาพเลยครับผม :053: :053:
                                                                                                                                                   
เห็นภาพตากล้อง ตอนจบ ข้าพเจ้านึกว่า พวกแอบส่องด้วย M16 กับ M79 ซะอีก(ล้อเล่นนะครับ)ดีนะเป็นกล้องถ่ายรูป
           
(ขออนุญาตเข้ามาชมภาพ ขอบพระคุณมากๆครับ) :054: :054:

ขอบคุณมากครับ ที่เข้ามารับชม

ส่วนภาพชุดสุดท้าย
มีร้านขายกล้องถ่ายรูปแห่งหนึ่งลงทุนเช่าห้อง เพื่อให้สมาชิกได้ภาพมุมสูง แถมมีเสื้อให้ 1 ตัว และมีบัตร สตาฟ ให้ห้อยคอด้วย งานนี้ช่างภาพจึงมีหลากหลายครับ

101
สิ้นสุดการนำเสนอไว้ด้วย ช่างภาพสื่อมวลชน

 

 

 

 


102
ชมบรรยากาศหลังจากพุทธาภิเษกเสร็จกันบ้าง

 

 

 

 


103
พระเกจิอาจารย์ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาภายในศาลหลักเมือง เพื่อประพรมน้ำพระพุทธมนต์และหว่านข้าวตอกดอกไม้ วัตถุมงคลที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกสุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย รุ่นแซยิด๘๘

 

 

 

 


104
พระเกจิอาจารย์ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาภายในศาลหลักเมือง เพื่อประพรมน้ำพระพุทธมนต์และหว่านข้าวตอกดอกไม้ วัตถุมงคลที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกสุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย รุ่นแซยิด๘๘










105
นั่งปรกเสร็จ ขั้นตอนต่อไปก็คือการดับเทียนชัย โดยพระครูพิเศษเขมาจารย์(หลวงพ่อท้วม) วัดศรีสุวรรณ อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี






ดับเทียนชัยด้านนอกศาลหลักเมือง

106
ระหว่างที่พระเกจิ นั่งปรกพุทธาพิเษกอยู่ ก็ถ่ายภาพศาลหลักเมืองอีกซักชุด






107
การนั่งปรก พุทธาภิเษก


พระครูพิเศษเขมาจารย์(หลวงพ่อท้วม) วัดศรีสุวรรณ อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

 
พระครูสารโสตถิคุณ วัดทุ่งเซียด จังหวัดสุราษฎร์ธานี

 

 


109
ประธานฝ่ายฆารวาส จุดธูปเทียนหน้าพระมหานาค


110
เริ่มต้นพิธี ด้วยพระเทพสุธี เจ้าคณะภาค 16 เป็นประธานในการเจิมเทียนชัย ก่อนจุด


111
ใกล้เริ่มพิธีแล้วทีมงานที่เตรียมงานกันแต่งตัวกันนิดหน่อยเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและเป็นทางการขึ้น


112
มีมโนราห์ จากโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ สุราษฎร์ธานี


114
ขออีกซักชุดกับ ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี




115
ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี สถานที่จัดงานพุทธาภิเษกวัตถุมงคล สุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย รุ่นแซยิด๘๘










ตอนนี้เค้ามีการจุดพลุกันด้วย ตอนที่พระเจริญพระพุทธมนต์เสร็จพอดี

116
ก่อนพิธีการจะเริ่มขึ้น มีแต่ความร้อน และ ความว่าง


117
รูปหล่อของสุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย ที่นำมาเข้าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนี้






118
ทีมงานขึงด้ายสายสิญจน์ และ การวางตำแหน่งของธงต่างๆ ตลอดจนเตรียมความพร้อมของสถานที่จัดพิธีพุทธาภิเษก








119
พระครูพิเศษเขมาจารย์(หลวงพ่อท้วม) วัดศรีสุวรรณ อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เดินทางมาถึงบริเวณ งานพุทธาภิเษก




120
ก่อนพิธีการจะเริ่มขึ้น มีแต่ความร้อน และ ความว่าง


121
ผู้ที่อยู่เบื้องหลังการขึงด้ายสายสิญจน์ และ การวางตำแหน่งของธงต่างๆ


124
พิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลสุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย(รุ่นแซยิด๘๘) ณ ศาลหลักเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 โดยมี

พระเทพสุธี วัดไตรธรรมาราม เจ้าคณะภาค 16 เป็นประธานพิธีฝ่างสงฆ์
พระสุธรรมาธิบดี วัดธรรมบูชา เป็นประธานจุดเทียนชัย
พระครูพิเศษเขมาจาร(หลวงพ่อท้วม) วัดศรีสุวรรณ เป็นประธานดับเทียนชัย

วัตถุมงคลที่เข้าพิธีพุทธาภิเษกสุดยอดพระเกจิอริยสงฆ์ ๔ ภาคของประเทศไทย รุ่นแซยิด๘๘ ณ ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี วันที่ 21 เมษายน 2554




125
น้ำท่วมสะพานขาด

 

 

 



สิ้นสุดการนำเสนอไว้เพียงแค่นี้

รูปทั้งหมด ถ่ายขณะที่รถกำลังวิ่งอยู่

อาจจะออกมาไม่ค่อยสวย

129
บรรยากาศระหว่างทาง

 

 

 


130
น้ำท่วม สะพานข้ามแม่น้ำตาปีขาด

 

 



131
เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554 เป็นวันที่เสร็จสิ้นปริวาสกรรม ประจำปี วัดทุ่งเซียด
แต่การสัญจรเพื่อเข้าตัวเมือง ยังไม่สามารถเดินทางในเส้นทางหลักได้

ระหว่างทางที่ผ่านไปได้เจอกับภาพ สะพานขาด ขาดกันจริงๆ







132
ชอบต้นไม้บนหลังคา

น้ำท่วมห้องน้ำ คงทำให้ลำบากในเรื่องสุขาอย่างมากเลยนะครับ
ลำบากมากมาย คับผม ผมเองได้เผชิญชะตากรรมนั้นอยู่หลายวันกว่าจะย้ายออกมา

จนถึงวันนี้ น้ำก็ยังไม่ไหล ไฟฟ้าก็ยังดับ โทรศัพท์ก็ยังใช้ไม่ได้(แบตเตอรี่หมด) เหมือนเดิมที่ครับวัด

133
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

พายเรือ  ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554





สิ้นสุดการนำเสนอเรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวกับงานปริวาสกรรม ประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด

ซึ่งมีเรื่องราวต่างๆ มากมาย เกิดขึ้นตลอดเวลา

และภาพน้ำท่วมถ่ายตอนระดับน้ำลดลงไปประมาณ 1 ฟุต จากระดับน้ำสูงสุด

ซึ่้งกว่าจะได้ภาพมาแต่ละภาพยากลำบากเหลือหลาย ตอนฝนตกก็ไม่ได้ถ่ายเพราะกล้องไม่สุ้กับน้ำ

พอฝนหยุด ก็ต้องพายเรือออกไปถ่าย ภาพ ซึ่งเป็นครั้งแรกในชีวิตที่พายเรือเอง และถ่ายรูปด้วย ที่สำคัญต้องระวังจรเข้ที่หลุดมาอีกด้วยถ่ายรูปไปก็ต้องคอยระวังไป

ภาพจะสวย หรือไม่ประการใดก็ต้องขออภัยไว้ด้วย สำหรับผมทำได้เต็มที่แค่นี้แล้ว ครับ

ขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาดูและให้กำลังใจ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ มีดังต่อไปนี้


[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในเบื้องต้น] มีเรื่องราวให้ตื่นเต้นตลอดเวลา

ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในท่ามกลาง]

[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในที่สุด] น้ำท่วมต้องย้ายวัดในที่สุด

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน น้ำท่วมเดือนเมษายน

134
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

อุโบสถหลังใหม่ มุมมองที่ 3 ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554





135
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

อุโบสถหลังใหม่ มุมมองที่ 2 ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554






136
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

อุโบสถหลังใหม่ มุมมองที่ 1 ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554





137
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

กุฏิ และ เสาไฟฟ้า ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554







138
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

พายเรือ ในลานวัด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554







139
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ช้าง หน้ามณฑปพ่อท่านเซียด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554



140
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

มณฑปพ่อท่านเซียด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554







141
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

พระพุทธรัตนปกป้องไทย



142
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

อุโบสถวัดทุ่งเซียด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554






143
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ฌาปณสถาน วัดทุ่งเซียด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554

144
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ผู้ร่วมชะตากรรมอีก 1 ชีวิต เรือไปถึงไหน เค้าก็จะไปถึงนั่น โดยรวมแล้ว เค้าจะว่ายน้ำตามเรือ ครั้งละประมาณ 2 ชั่วโมงต่อเนื่องกัน ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554





145
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ประตูเข้าวัด ป้ายประชาสัมพันธ์งานปริวาสกรรม ประจำปี 2554 ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษยน พ.ศ. 2554





146
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ตอนกลับ เจอกับผู้ประสบชะตากรรมเดียวกัน ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554






147
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

พายเรือไปบนถนน เข้าไปในชุมชน







148
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

สถานที่ทำวัตรสวดมนต์ ปฏิบัติศาสนกิจ งานปริวาสกรรม ประจำปี 2554 ถ่ายจากบนถนนหน้าวัด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554




149
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

พายเรือบนถนนหน้าวัด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554






150
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ถนนหน้าวัด ต้องใช้เรือเป็นพาหนะในการสัญจรเพียงอย่างเดียวเท่านั้น(ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนตั้งแต่อดีตที่ผ่านมา) ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2554 ซึ่งระดับน้ำลดลงไปประมาณ 1 ฟุต






151
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

สถานที่ทำวัตร สวดมนต์ และฉันภัตตาหาร สำหรับงานปริวาสกรรม ประจำปี 2554 ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2554






152
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

ห้องสมุด ถ่ายเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2554




153
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์

สถานที่พักของแม่ชีวัดทุ่งเซียด






154
ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์


ที่นี่เป็นสถานที่ ที่หลงเหลือ(บริเวณชั้น2) ที่รอดพ้นจากน้ำท่วม

155
ภาพเหตการณ์ประวัติศาสตร์


เมื่อก่อนเคยเป็นห้องน้ำ

156
ขออภัยที่ต่อกระทู้ช้า สาเหตุเพราะต้องออกไปแจกของให้ชาวบ้านที่ประสบภัยน้ำท่วม และการช่วยเหลือเข้าไปไม่ถึง วันนี้มีคณะของกู้ภัยวัดเก่าเจริญธรรม จังหวัดพังงา ได้นำสิ่งของบรรเทาทุกข์มาแจกจ่ายให้ผู้ประสบภัยน้ำท่วมครั้งนี้ สิบกว่าคนรถ

ภาพเหตุการณ์แห่งประวัติศาสตร์




ก่อนหน้านี้เคยเป็นเสา แต่ปัจจุบันมันเป็นเช่นนี้

157
ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์

เนื่องจากรูปภาพมาก จึงขอแยกกระทู้ เพื่อความสะดวกในการเปิดดูของ สมาชิกทุกท่าน เพราะความเร็วอินเตอร์เนตไม่เท่ากันถ้าหากโพสภาพมากไปในกระทู้เดียว อาจจะทำให้คนที่ความเร็วเน็ตไม่สูง จะมีปัญหาในการรับชมได้ จึงขอแยกกระทู้ ตามความเหมาะสมครับ


สภาพเสาไฟฟ้า


เสนาสนะ ต่างๆ ในวัดทุ่งเซียด



กุฏิพระครูปลัดพิสูจน์ศักดิ์ อภิปุณฺโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดทุ่งเซียด

158
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -






หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554



สิ้นสุดการนำเสนอสำหรับชุดนี้ไว้เพียงแค่นี้

โปรดรอติดตาม ภาพเหตุการณ์ในตอนต่อไป เนื่องจาก ภาพมีจำนวนมาก จึงขอแยกกระทู้ออกเป็น ตอนๆ ในแต่ละช่วงของเหตุการณ์

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ มีดังต่อไปนี้


[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในเบื้องต้น] มีเรื่องราวให้ตื่นเต้นตลอดเวลา

ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในท่ามกลาง]

[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในที่สุด] น้ำท่วมต้องย้ายวัดในที่สุด

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ น้ำท่วมเดือนเมษายน ภาค2

159
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554





หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

160
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

161
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

162
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

163
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

164
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -




หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

165
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อ -



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

166
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

167
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554




หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

168
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

169
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554




หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

170
ภาพประวัติศาสตร์


ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554





หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554



171
พี่ เผ่าพงษ์พระกฤษณะ ครับ
ไม่ทราบว่าทางวัดมีให้ทำบุญประสบภัยน้ำท่วมมั่ยครับ 
อยากช่วยมากๆครับ 
เห็นสภาพวัดแล้วสลดใจครับ
ตอนนี้ยังมืดแปดด้านอยู่เลยครับ ไม่รู้จะทำอย่างไรก่อนหรือหลังดี

จนถึงวันนี้ ที่วัดยังไม่มีน้ำ ไฟฟ้า และ โทรศัพท์ ใช้เลยครับ

ดีหน่อยก็ที่รถสามารถเข้าไปถึงหน้าวัดได้แล้ว แต่ ภายในวัดยังคงต้องใช้เรือในการสัญจรครับ เพราะระดับน้ำที่อุโบสถก็น่าจะประมาณ 3 เมตรครับ

ขอตอบคำเดียวครับตอนนี้ทางวัดยังมึน และ งง กับเหตการณ์ที่เกิดขึ้นครับ

172
ภาพประวัติศาสตร์

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554




หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

173
ภาพประวัติศาสตร์ 

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554




หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

174
เป็นภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนตั้งแต่อดีตที่ผ่านมา ที่เกิดเหตุการณ์น้ำท่วมเดือน 4 (เมษายน) ซึ่งคนเฒ่าคนแก่ได้พูดกันว่าตั้งแต่เกิดมายังไม่เคยเจอเหตุน้ำท่วมที่รุนแรงขนาดนี้มาก่อน

นี่คือที่มั่นสุดท้ายของภิกษุต้องเผชิญชตากรรมน้ำท่วมด้วยกัน อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนี้ประมาณ 10 รูป/คน ด้วยกัน

ก่อนหน้า ถ่ายเมื่อวันที่ 09 มีนาคม พ.ศ. 2554



หลังจาก ถ่ายเมื่อวันที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2554

ด้านใน


ด้านนอก

175
สภาพทั่วๆ ไป ตอนที่กำลังเคลื่อนย้ายสิ่งของสัมภาระกัน ต่างคนต่างเร่งเก็บสิ่งของต่างๆ นานา

ระดับน้ำ ในส่วนต่างๆ ของวัดทุ่งเซียด ตอนที่กำลังเคลื่อนย้ายพระไปวัดท่าโรงช้าง

 

 

 

 


ภาพชุดนี้ขอ นำเสนอเป็นชุดสุดท้าย สำหรับปริวาสกรรมประจำปี 2554 ในที่สุด (น้ำท่วมหลังชนฝา ต้อง ย้ายสถานที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม)

ไป เนื่องจาก ภาพมีจำนวนมาก จึงขอแยกกระทู้ออกเป็น ตอนๆ ในแต่ละช่วงของเหตุการณ์


----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ มีดังต่อไปนี้


[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในเบื้องต้น] มีเรื่องราวให้ตื่นเต้นตลอดเวลา

ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในท่ามกลาง]

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน น้ำท่วมเดือนเมษายน

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ น้ำท่วมเดือนเมษายน ภาค2

176
เที่ยวที่สองของการเคลื่อนย้ายพระที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียดไปยังวัดท่าโรงช้าง ใช้ รถ 10 ล้อ เป็นยานพาหนะ ซึ่งในการขนย้ายดังกล่าวกระทำกันท่ามกลางสายฝนที่ตกกระหน่ำอยู่ตลอดเวลา

ซึ่งในเที่ยวนี้ รถ 6 ล้อเข้ามาลำบาก จึ่งต้องใช้บริการของรถบรรทุก 10 ล้อแทนในการเคลื่อนย้ายพระที่เข้าอยู่ปริวาสในครั้งนี้ และฝนฟ้าก็ยังไม่เป็นใจตกกระหน่ำอยุ่ตลอดเวลา

 

 

 




ส่งเจ้าสิ่งนี้ขึ้นรถบรรทุก 10 ล้อไปด้วย

177
ในระหว่างที่ทำการเคลื่อนย้ายพระชุดแรกด้วย รถ 6 ล้อ

ทางโรงครัวก็ได้ย้ายสัมภาระ ตลอดจนเสบียง ต่างๆ ไปยังวัดทุ่งโรงช้างด้วยเหมือนกันโดยใช้รถ 4WD ที่ตกแต่งยกสูงพิเศษ เนื่องจากระดับน้ำได้สูงเกินกว่ารถทั่วๆ ไปจะสัญจรไปมาได้ จังต้องใช้วิธีนี้ในการเคลื่อนย้ายสัมภาระในครั้งนี้

 

 

 

 


178
เที่ยวแรกของการขนย้ายพระที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียดไปยังวัดท่าโรงช้าง ใช้ รถ 6 ล้อ เป็นยานพาหนะ ซึ่งในการขนย้ายดังกล่าวกระทำกันท่ามกลางสายฝนที่ตกกระหน่ำอยู่ตลอดเวลา

 

 

 

 


179
ในที่สุด ระดับน้ำก็ประชิดเข้ามาอย่างน่ากลัวและ ถอยหลังก็ไม่ได้อีกแล้วเพราะหลังชนกำแพงแล้ว และระดับน้ำก็ยังเพิ่มขึ้นอย่างน่ากลัวและรวดเร็วเป็นอย่างมาก
เมื่อเวลาประมาณ 12.30 น. พระอาจารย์เมสันต์ คมฺภีโร(อ.โด่ง) ประธานอาจารย์กรรมได้ประกาศสละป่าปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียด ให้ย้ายไปปฏิบัติวุฏฐานวิธีต่อที่วัดท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งมีความปลอดภัยเรื่องน้ำท่วมมากกว่า


ซึ่งในขณะนั้นฝนฟ้าก็ยังกระหน่ำโดยไม่มีวี่แวว ว่าจะหยุดแต่อย่างใด โดยประกาศให้พระภิกษุที่อยู่ในวัดทุ่งเซียด กว่า 80 ชีวิต ทั้งลูกกรรมและอาจายกรรมเก็บของสัมภาระ เตรียมตัวที่จะย้ายไปวัดท่าโรงช้างต่อไป

โดยก่อนที่จะประกาศย้ายวัดนั้น รถที่จะสัญจรเข้ามาถึงวัดทุ่งเซียดได้นั้นจะมีเพียงแค่ รถ 4WD ที่ยกสูง รถ 6 ล้อ และรถ 10 ล้อเท่านั้น ซึ่งในการย้ายพระที่อยุ่ปริวาสกรรมนั้นต้องทำแข่งกับเวลา และ ภายใต้สภาวะฝนฟ้าที่คะนองตกอย่างหนักอยู่ตลอดเวลา เรียกว่าต้องมีผู้บัญชาการในการแก้ไขปัญหาตลอดเวลา ถ้าติดสินใจช้าไปนิดเดียวกันเดินทางออกจากวัดทุ่งเซียดก็จะยากลำบากมากยิ่งขึ้น


ความวุ่นวายเมื่อในการเก็บสัมภาระ เพื่อเตรียมตัวย้ายป่าปริวาสกรรม

 
พระอาจารย์เมสันต์  คมฺภีโร(อ.โด่ง) ประธานคณะอาจาย์กรรม ผู้ที่คอยแก้ปัญหาอย่างทันท่วงที กับปัญหาทีคาดไม่ถึงอยู่ตลอดเวลา

 

 

 



180
บรรยากาศก่อนการสั่งย้ายป่าปริวาสกรรม ไปทำการอยู่กรรม(วุฏฐานวิธี) ณ วัดท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ซึ่งบรรยากาศก็มีการโยกย้ายสิ่งของต่างๆ ภายในวัดทุ่งเซียดกันให้วุ่นวาย ดังต่อไปนี้

 



 

 



181
สภาพทั่วไป ในตอนเช้า วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2554 มีแต่ความโกลาหล วุ่นวานของพระที่อยู่ในวัดทุ่งเซียดทั้งหมด เพราะว่าตอนนี้ระดับน้ำได้ขึ้นมาประชิดฐานที่มั่นสุดท้ายของ นักปฏิบัติธรรมทั้งหลายแล้ว ถ้าถอยอีกก็หลังชนกำแพงแล้ว

 

 

 

 


182
เมื่อตอนเช้าวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2554 ระดับน้ำได้เพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นอย่างมาก ซึ่งในตอนเช้ามืดก็คิดว่าระดับน้ำเพิ่มขึ่้นมากแล้วแต่ยิ่งเวลาผ่านไป ระดับน้ำยิ่งเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เรียกว่ามีการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำเป็นนาทีกันเลยทีเดียว
ซึ่งในวันนี้มีปัญหาให้ต้องแก้ไขตั้งแต่ตอนตี 4 ของวันเนื่องจากห้องเก็บของที่เป็นคลังเสบียงของวัด น้ำได้แวะเข้าไปเยี่ยม ทำให้ต้องย้ายที่เก็บเป็นการด่วนที่สุด มิฉะนั้น จะไม่คลังเสบียงหลงเหลือไว้ในวันต่อๆ ไป

ซึ่งในวันนี้สถานที่ปักกลดของพระบางรูปโดนน้ำท่วมแทบจะไม่ได้นอนในตอนกลางคืน และการเดินทางสัญจรภายในวัด ณ ตอนนั้นต้องใช้เรือเป็นยานพาหนะโดยส่วนใหญ่ของวัด

ซึ่งความวุ่นวายในตอนเช้าของวันนี้คือการย้ายที่ปักกลดของพระที่เข้าอยู่ปริวาส และการย้ายสัมภาระของพระที่เป็นพระอาจารย์กรรม โดยบางรูปบางท่านก็ติดเกาะ ต้องใช้เรือในการขนย้ายสัมภาระ เกิดความโกลาหลวุ่ยวายหลังจากฉันภัตตาหารเช้าซึ่ง จะนำเสนอให้ได้ชมกันดังต่อไปนี้

 

 

 

 


183
อยากทราบข่าวของพระอาจารย์โด่ง ใครทราบช่วยตอบด้วย

รอพระอาจารย์โด่ง มาตอบเองดีกว่า ครับ

แต่เท่าที่ได้ยินมา ก็ ประมาณ วันที่ 29- 30 เมษายนนี้ล่ะ ครับที่จะไปวัดทุ่งเว้า

184
ภาพประวัติศาสตร์อีกภาพ สำหรับงานปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียด คือการบอกวัตร เก็บวัตร ของพระภิกษุที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม

กำทำกันท่ามกลางสายฝนที่ตกกระหน่ำอยู่ตลอดเวลา ต้องใช้ร่ม เป็นอุปกรณ์ในการป้องกันฝนและ ทำสังฆกรรมกันกลางแจ้ง

 

 


ภาพชุดนี้ขอ นำเสนอเป็นชุดสุดท้าย สำหรับปริวาสกรรมประจำปี 2554 ในท่ามกลาง

โปรดรอติดตาม ภาพเหตุการณ์ปริวาส ที่มีเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ ที่มีเรื่องไม่คาดคิดเกิดขึ้นมากมาย

ในตอนต่อไป เนื่องจาก ภาพมีจำนวนมาก จึงขอแยกกระทู้ออกเป็น ตอนๆ ในแต่ละช่วงของเหตุการณ์


----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ มีดังต่อไปนี้


[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในเบื้องต้น] มีเรื่องราวให้ตื่นเต้นตลอดเวลา

[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในที่สุด] น้ำท่วมต้องย้ายวัดในที่สุด

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน น้ำท่วมเดือนเมษายน

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ น้ำท่วมเดือนเมษายน ภาค2

185
เป็นภาพการทำวัตร สวดมนต์ ในตอนเช้า

ถือเป็นภาพประวัติศาสตร์ของการจัดงานปริวาสกรรมวัดทุ่งเซียด เพราะการทำศาสนกิจ ของพระที่มาเข้าอยู่ปริวาสในครั้งนี้ต้องทำภายใต้แสงเทียน เรียกว่าเป็นการย้อนยุคก็ว่าได้

 

 

 


186
สำหรับเหตุการณ์ปริวาสกรรมในท่ามกลาง ก็ยังมีฝนฟ้าคะนอง กระหน่ำอยู่ตลอดเวลา ซึ่งไม่มีวี่แวว ว่าจะหยุด

สำหรับเหตุการณ์สำคัญในช่วงนี้ คือต้นยางพาราหักโค่นลงมาทำให้สายไฟฟ้าขาดทำให้พระที่มาอยู่ปริวาสกรรมนั้นต้องทำวัตร สวดมนต์ ปฏิบัติธรรม ท่ามกลางแสงเทียนตลอด 2 วันเต็มๆ (29-30 มีนาคม พ.ศ. 2554)

 

 

 


187
ขอบคุณท่านเผ่าพงษ์พระกฤษะมากครับที่นำภาพมาให้ชม...ทุกท่านปลอดภัยดีทุกคนก็ดีใจครับ...และร่วมอนุโมทนาบุญด้วยครับ
ทุกคนปลอดภัยดี คับแต่ต้องย้ายสถานที่เข้าอยู่ปริวาสกรรมแค่นั้นเอง

และตอนนี้ท่านอาจารย์โด่งก็ได้เดินทางไปขึ้นเครื่อง เพื่อกลับชลบุรีเรียบร้อยแล้วครับ

เหตุการณ์ทั้งหมด ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์โด่งเป็นอย่างยิ่งที่ คอยช่วยแก้ปัญหาต่างๆ นาๆ ที่เกิดขึ้นได้ทุกวินาที ในงานปริวาสครั้งนี้

 :054: :054: :054: กราบขอบพระคุณ

188
มาดูผู้ที่อยู่เบื้องหลัง ความอิ่มปาก อิ่มท้อง ในวันที่ฝนฟ้าคะนอง กระหน่ำตลอดเวลา การหุงหา ข้าวปลาอาหารก็ลำบากกันพอสมควร

 

 

 

 


ภาพชุดนี้ขอ นำเสนอเป็นชุดสุดท้าย สำหรับปริวาสกรรมประจำปี 2554 ในเบื้องต้น

โปรดรอติดตาม ภาพเหตุการณ์ปริวาส ที่มีเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ ที่มีเรื่องไม่คาดคิดเกิดขึ้นมากมาย

ในตอนต่อไป เนื่องจาก ภาพมีจำนวนมาก จึงขอแยกกระทู้ออกเป็น ตอนๆ ในแต่ละช่วงของเหตุการณ์

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ มีดังต่อไปนี้


ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในท่ามกลาง]

[ภาพ]ปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด [ในที่สุด] น้ำท่วมต้องย้ายวัดในที่สุด

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน น้ำท่วมเดือนเมษายน

[น้ำท่วม] วัดทุ่งเซียด ภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ น้ำท่วมเดือนเมษายน ภาค2

189
การฉันภัตตาหารของพระที่มาเข้าอยู่ปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียด ใน วันต้นๆ ของการอยู่ปริวาสกรรม เหตุการณ์ยังคงปกติอยู่ ครับมีแค่ฝนตกกระหน่ำตลอดเวลา ไม่มีวี่แวว ว่าจะหยุด หรือ ลดระดับความรุนแรงลงเลย ครับ






190
การตักบาตร ในงานปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด ปีนี้ต้องกระทำกันภายในศาลาโรงฉัน

เพราะฝนตกกระหน่ำอย่างหนักตลอดเวลาทำให้พระไม่สามารถออกไปเดินบิณฑบาตรได้










191
ย้ายสถานที่ทำวัตรสวดมนต์จากบริเวณป่าไทร

มาทำวัตรสวดมนต์ ปฏิบัติธรรมกันในศาลาแทน

ตลอดเวลาของการทำวัตร ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554 มีฝนกระหน่ำอยู่ตลอดเวลา ไม่มีทีท่า ว่าจะหยุด

แต่การปฏิบัติศาสนกิจ ก็ยังคงต้องทำกันต่อไปทุกๆ วัน

 

 


192
พระที่มาเข้าอยู่ปริวาสกรรม ต้องย้ายที่ปักกลดมา จากป่าไทรที่กำหนดว่าเป็นเขตปริวาส มาอยู่บนลานวัดแทน ซึ่งทุกท่านก็คิดว่า ปลอดภัยจากน้ำท่วมแน่นอน แต่ในที่สุดแล้ว ทั้งหมดที่ปักกลดนี้ ต้องย้าย หมดสิ้น ไม่มีหลังไหนที่สามารถอยู่ที่เดิมได้เลย ในท้ายที่สุดต้องย้ายวัดในการเข้าอยู่ปริวาสกรรม








193
สภาพโดยรวมภายในวัด ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2554 สภาพน้ำก็ยังคงไม่เป็นอุปสรรคของการดำเนินการจัดงานปริวาสกรรมในครั้งนี้

ซึ่งนับว่าเป็นโชคดีที่ฝนหยุด เป็นโอกาสให้ผมได้ไปบันทึกภาพเอาไว้ เพราะหลังจากที่ผมบันทึกภาพเสร็จ ฝนกระหน่ำตลอดเวลาจนผมไม่สามารถเอากล้องออกมาบันทึกภาพกลางแจ้งได้  ซึ่งกลายเป็นภาพเปรียบเทียบเหตุการณ์กับเหตุการณ์ระหว่างปริวาสในครั้งนี้ได้เป็นอย่างดี เลยครับ






ในที่สุดตอนท้ายๆ สะพานแห่งนี้หายไปคับ ทุกท่านโปรดสังเกตุความสูงของสะพานแห่งนี้ไว้ให้ดี นะครับ




ทุกท่านโปรดสังเกตุความสูงของสะพานและฐานรองรับอุโบสถนี้ไว้ให้ดี นะครับ เพราะในที่สุดแล้ว ทั้งสะพานและฐานรองรับอุโบสถจะหายไปในน้ำ เหลือเพียงแค่ อุโบสถเพียงอย่างเดียวเท่านั้นที่โผล่พ้นน้ำ

194

ห้องน้ำลูกกรรม ที่กำหนดไว้ก่อนงานปริวาสกรรม


เขตปริวาสกรรม ที่กำหนดไว้ก่อนงานปริวาสกรรม


สถานที่ตักบาตรและเดินจงกรม ที่กำหนดไว้ก่อนงานปริวาสกรรม


สภากาแฟลูกกรรม ที่กำหนดไว้ก่อนงานปริวาสกรรม


ลานธรรม ที่กำหนดไว้ก่อนงานปริวาสกรรม

แต่ทุกสิ่งที่กำหนดเอาไว้ ไม่สามารถใช้งานได้ เนื่องจากก่อนหน้างานปริวาส 2 วัน ฝนได้ตกกระหน่ำ ทำให้น้ำท่วมทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้กำหนดเอาไว้

ทำให้ ทางวัดทุ่งเซียดต้องย้ายสถานที่ปักกลด และการเตรียมงานทั้งหมดไปยังลานวัด โดยในการย้ายนั้นต้องทำกันระหว่างที่ฝนตกกระหน่ำ ตลอดเวลา ทั้งพระที่มาเข้าอยู่ปริวาสกรรม และ พระอาจารย์กรรมที่ต้องจัดสถานที่ใหม่ ทั้งหมด

ต้องขออนุโมทนากับ พระที่มาร่วมงานปริวาสในครั้งนี้เป็นอย่างสูง ทุกท่านใจเด็ดเดี่ยวเป็นอย่างมาก ไม่มีใครถอย แม้จะเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นก็ตาม ขออยู่และสู้ต่อด้วยกันจนจบงานปริวาสประจำปี ของวัดทุ่งเซียดในครั้งนี้

ขอกราบขอบพระคุณสหธรรมิกทุกๆ ท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ  :054: :054: :054: กราบขอบพระคุณครับ

195
งานเข้าอยู่ปริวาสกรรมระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๔ ณ.วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

แต่สถานที่ ที่เตรียมไว้สำหรับจัดงานปริวาสกรรมในครั้งนี้เจอพิษฝนฟ้าคะนอง ทำให้น้ำท่วมสถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้ทั้งหมดเป็นเหตุให้ต้องย้ายสถานที่จัดมา ปักกลดกันที่ในลานวัด

ซึ่งถึงแม้จะมีการย้ายมาปักกลดกันที่ลานวัด ฝนฟ้าก็ยังคงคะนองไม่ได้หยุดหย่อน ทำให้ทางวัดต้องย้ายสถานที่ทำวัตร สวดมนต์ และ ปฏิบัติธรรม ทำให้พระเจ้าหน้าที่ต้องเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ และ ระบบไฟฟ้า ทั้งหมดมาไว้ภายในอาคาร

มาดูสถานที่จัดงานปริวาสกรรมประจำปี 2554 ณ วัดทุ่งเซียด ในเบื้องต้นกันก่อน







เป็นกุฏิที่พระอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) เคยพักเมื่อปี 2553

196
ได้ยินว่าท่วมกันเป็นเมตรๆ เห็นอย่างในรูปแล้วเหวอเลยครับ
ที่อุโบสถหลังใหม่(อยู่ระหว่างการก่อสร้าง) ของวัดระดับน้ำสูงประมาณ 6 เมตรจากพื้นดินวัดจากระดับความสูงจากฐานอุโบสถที่สูง 5 เมตร ซึ่งน้ำท่วมทั้งหมด และท่วมตัวอุโบสถขึ้นไปอีก โดยประมาณแล้วก็ประมาณ 6 เมตรครับ

ชมภาพประกอบครับ


197
โอ้วววววว มาได้งัยนี่ แล้วท่านพระอาจราย์ปลอดภัยดีนะครับ

ตอนนี้ พระอาจารย์โด่ง ปลอดภัยดี ครับ

ออกแจกของญาติโยมที่ประสบภัยน้ำท่วมในครั้งนี้

ตั้งแต่เสร็จงานปริวาสกรรมก็ออกแจกของให้กับผู้ประสบภัย

ทั้งน้ำและอาหาร ที่ทางหน่วยงานอื่นๆ เข้าไม่ถึง ทางพระอาจารย์โด่งและพระจากวัดทุ่งเซียดได้ออกไปแจกของให้ได้รับกันโดยทั่วถึง

และตอนนี้ พระอาจารย์โด่งย้ายมาอยู่ที่วัดท่าโรงช้าง ซึ่งห่างจากวัดทุ่งเซียด ประมาณ 5 กิโลเมตรและอยู่ในที่ สูง ปลอดภัยจากปัญหาน้ำท่วม

รวมทั้งตัวกระผม ที่มาอาศัยพักพิงอยู่ที่วัดท่าโรงช้างเพื่อทำเป็นสำนักงานชั่วคราวให้สามารถติดต่อกับโลกภายนอกได้ เพราะวัดทุ่งเซียด ณ ตอนนี้ยังไม่มีไฟฟ้า และ น้ำอุปโภคบริโภค รวมทั้งโทรศัพท์ก็ไม่สามารถใช้งานได้

198
จากภาพด้านบน เห็นตู้เย็นสีแดง ที่อยู่ภายในภาพหรือไม่ ณ บัดนี้ มาดูกันว่าตู้เย็นดังกล่าวอยู่ที่ไหน


199



ภาพชุดนี้ได้ขออนุญาติพระอาจารย์โด่งเรียบร้อยแล้วก่อนนำมาโพสที่เว็บไซต์วัดบางพระ

200
เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2554 พระอาจารย์โด่งได้เปิดเข็ม สัก ให้กับลูกศิษย์ ณ วัดทุ่งเซียด 

จึงได้เก็บภาพบรรยากาศ มาฝากพี่น้องชาวเว็บวัดบางพระกัน ครับ

 

 

 

 


201
ตอนนี้พระอาจารย์โด่ง กำลัง ดำเนินการเรื่องแจกของ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยอยู่ครับ

ออกไปแจกของผู้ประสบภัยน้ำท่วม ให้แก่พี่น้องประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนเพราะว่า บางคนไม่ได้ทานข้าวมา 4 วันแล้วเพราะความช่วยเหลือเข้าไปไม่ถึง ไปได้เฉพาะริมถนน ที่ติดอยู่ด้านในไม่ได้รับความช้วยเหลือ

202
ขอบคุณมากๆครับ สำหรับข่าวสารครับ (โน๊ตบุ๊คเสียหายไม่เท่าไร ขออย่าให้พระอาจารย์โด่งเป็นอะไรก็พอละครับ)

พระอาจารย์โด่งปลอดภัยดี ครับ แต่ต้องย้ายวัดในการจัดงานปริวาสกรรม ครับ

เพราะระดับน้ำในวัดทุ่งเซียด สูงประมาณ 4 เมตร ใช้ในการจัดปริวาสกรรมไม่ได้

วันนี้เป็นวัดสุดท้ายของงานปริวาสกรรม พระก็ได้แยกย้ายกันบ้างแล้ว

ส่วนพระอาจารย์โด่งตอนนี้รอส่งพระให้เดินทางกลับกันหมดก่อน แล้วค่อยเดินทางกลับต่อไป

203
กราบขอบพระคุณครับที่แจ้งข่าว ปริวาสครั้งนี้น่าจะมีเรื่องที่ลืมไม่ลงเยอะเลยนะนี่

กำลังวางแผนเดินทางไกลลงใต้ วัดทุ่งเซียดก็อยากแวะไปเหมือนกันครับ

ปริวาสกรรม ปี นี้ เป็นอะไรที่ลืมไม่ลงจริงๆ ครับผม

เสียดายที่ผมไม่ได้เก็บภาพบรรยากาศ ตอนนี้ท่วมไว้ เพราะต้องย้ายของ ต่างๆ มากมาย

และอีกประการหนึ่งคือกล้องผมกลัวน้ำครับ ไม่สามารถเอาไปบรรทึกภาพตอนฝนตกน้ำท่วมได้ครับผม

204
ขอบคุณครับ

น่าจะเป็นรสชาติที่เข้มข้นไม่น้อย
ถ้ามีภาพ ก็กรุณาโพสต์มาชมกันบ้างนะครับ

ภาพมีเล็กน้อย ครับผม

เพราะกล้องที่ใช้ถ่ายก็กลัวน้ำเหมือนกัน ครับ

ต้องรอฝนหยุดก่อน ถึงจะออกเก็บภาพได้ ตอนนี้ ฝนตกไม่กล้าเอากล้องออกไปบันทึกภาพ ครับผม

205
ท่วมอย่างหนักเลย ครับ

น่าจะหนักกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา

ตอนนี้พระอาจารย์ ต้องย้ายที่พักมาอยู่ศาลาแล้ว เพราะน้ำท่วมที่พักเดิมไปแล้ว

ปริวาส ครั้งนี้ ได้รสชาติชีวิตมากมายครับ

ฝนตก น้ำท่วม ไปดับ(๒ วัน ๒ คืนเต็มๆ ) น้ำไม่ไหล

206
ในระหว่างวันที่ 26 มีนาคม ถึง วันที่ 4 เมษายน 2554 พระอาจารย์เมสันต์ คมฺภีโร(อ.โด่ง) ได้มาเป็นประธานอาจารย์กรรม ในงานเข้าอยู่ปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

เนื่องจากช่วงนี้จังหวัดสุราษฎร์ธานี เจอพายุฤดูร้อนทำให้เกิดฝนฟ้าคะนองอย่างต่อเนื่อง ทำให้พระอาจารย์โด่งได้รับผลกระทบไปด้วย เนื่องจากโน๊คบุ๊คของท่านพระอาจารย์ เจอละอองฝน และ ความชื้นทำให้ เปิดเครื่องไม่ติด ณ เวลา นี้ จึงฝากบอก สมาชิกชาวเว็บวัดบางพระทุกท่าน ว่าถ้าตอนนี้พระอาจารย์โด่งหายไปไม่ได้เข้ามาตอบกระทู้ สาเหตเพราะ เครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านพระอาจารย์ ได้รับผลกระทบ จากละอองฝนและความชื้นทำให้เปิดเครื่องไม่ติดครับ

พระอาจารย์โด่ง ฝากแจ้งข่าวเพื่อทราบครับผม

213
ชุดที่ 2 พระอาจารย์เมสันต์  คมฺภีโร (อ.โด่ง) ประธานอาจารย์กรรม ผู้ดำเนินงานในการจัดปริวาสกรรม


ปล.ปีนี้ท่านเดินทางมาถึงวัดทุ่งเซียด เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

214
นำภาพบรรยากาศ การเข้าอยู่ปริวาส เมื่อปี 2553 มาให้ชมกัน

ชุดที่ 1 เกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆ ที่ถ่ายเก็บเอาไว้เมื่อปี 2553


215
แผนที่การเดินทางจากสถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี มายังวัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานที่เข้าอยู่ปริวาสกรรม ระหว่างวันที่ ๒๖ มีนาคม ถึง ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๔




216
ปล..ขณะนี้ ท่านได้เดินทางลงใต้ไปแล้วเมื่อเช้านี้ และจะกลับช่วงต้นเดือนหน้า จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ตอนนี้(23 03 2554 )ท่านอยู่ที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (วัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี) ครับผม

วันนี้ผมไปกราบท่านมาแล้ว คับ  :054: :054: :054:

217
ขอบคุณ สำหรับภาพถ่ายสวยๆ คมๆ ให้กับ ศิษย์ ที่อยู่ห่างไกล ได้ชมภาพ บรรยากาศ

และขอขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง สำหรับภาพถ่ายอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) ครับ

218


ชอบใจ โฟวิล ขึ้นเขา คับ น่าตื่นเต้นดี คับ

ขอบคุณสำหรับมุมมองภาพสวย ๆ และเรื่องราวดีๆ ที่นำมาฝาก สมาชิกชาวเว็บวัดบางพระกัน ครับ
 :016: :015:

219
ดีจังค่ะที่ไม่มีใครเป็นอะไร....อุบัติเหตุไม่ได้เกิดเฉพาะที่เราประมาท
ทั้งๆที่เราขับมาดีๆ คนอื่นที่ประมาทก็ทำให้่เราเดือดร้อนได้เช่นกัน

วัยรุ่นพวกนั้น รอดจากจุดนี้ไปได้ แต่จุดหน้า โค้งหน้า เค้าจะรอดไหมนี่

ก็คิดว่าน่าจะเป็นเช่นนั้นด้วยเหมือนกันครับ เพราะยังนั่งคิดอยู่เลย ว่าถ้าไม่ใช่รถคันนี้ พวกเค้าจะโชคดีแบบนี้ไหมหนอ


โค้งนี้เราเสียท่า...แต่โค้งหน้ามันเสียใจ ต้องรับกรรมที่มันก่อ
ที่มันทำแบบนี้ ถ้ามันตาย พระท่านจะไปสวดให้ไหมหนอ..
ขอบคุณครับ สำหรับอุทาหรณ์สอนใจ เรื่องเด็กแว้นกับร.ส.พ.
[รถส่งพระ]...............
:054: :054: :054:
:016: :015: อิอิ ร.ส.พ. ชอบๆ
นั่งคิดอยู่เลย ว่าถ้าไม่ใช่รถคันนี้ พวกเค้าจะโชคดีแบบนี้ไหมหนอ

220
กราบขอบพระคุณสำหรับเหตุการณ์-รูป เตือนสติในครั้งนี้ด้วยครับ .... ขนาดเรามีสติแล้ว..แต่เขาเองกลับขาดสติ และเป็นเหตุทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน

ปลอดภัยทุกท่านโชคดีมากเลยครับ บุญรักษาแท้จริง  :054:
น่าจะมาจากการคิดดีตัดสินใจดี ของคนขับมีผลให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง ถึงรถเสียหายแค่ไหนแต่คนปลอดภัยทุกประการ ไม่มีรอยฟกช้ำ


นมัสการครับ
บุญรักษาครับ ผมเองก็เคยเจอเหตุการณ์แบบนี้เช่นกันครับ
ถ้าเราไม่หักหลบ เราก็คงชนคนขับมอเตอร์ไซค์ตายคาที่แน่ๆครับ
กมฺมุนา วต ตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ครับ แต่ถ้ายังขับอยู่แบบนี้คงไม่นานหรอกกรรมคงตามทันพวกเค้าแน่ ๆ คงไม่มีคนใจดีเหมือนคนขับรถผมทุกคันแน่ๆ ในสังคมนี้

221
 :054: :054: :054:กราบคาราวะ ท่านอาจารย์ ครับ

ตถตาอาศรม บ้านบึง ชลบุรี ต่อไปก็จะเป็นแหล่งที่ เก็บอารมณ์ของศิษยานุศิษย์ในอนาคตอันใกล้แน่ ๆ และก็เป็นแหล่งรวบรวมชาวยุทธ ได้เป็นอย่างดี ตามปณิธาน ของท่านอาจารย์ที่ได้ตั้งเอาไว้

ขอส่งใจไปช่วยให้การดำเนินการลุล่วงไปตามที่ได้ตั้งใจเอาไว้ อย่าได้มีปัญหาหรืออุปสรรคใดๆ เลยคับ
 :054: :054: :054:

222
พวกนี้สร้างความเดือนร้อนจิง แล้วรภคว่ำพวกมันลงมาดูไหมครับ หรือ ชิ่งหนีไป

หายไปไม่เห็นเงา หัว เลยคับผม ป่านนี้คงไปคุยกันสนุกปากแล้ว ว่า "ตรูเก่ง ทำรถคว่ำกลิ้งเหมือนลูกขนุนมาเมื่อกี้นี้" แถวบ้านผมเค้าเรียกกันว่าสันดาน คับผม แก้ไม่หายหรอกครับ เห็นคนอื่นเดือนร้อน แตสำหรับพวกเค้าเห็นว่าเป็นเรื่องสนุก  ถ้าย้อนกลับไปดูซักนิดว่าถ้า รถผมเลือกที่จะไม่หลบให้อะไรจะเกิดขึ้น ตายเปล่าคับ เพราะที่พวกเค้ามากัน ผิดเต็มๆ อยู่ในเลนคนอื่นเค้าเต็มๆ ครับ

223
ปลอดภัยก็ดีแล้วครับ
พระท่านรักษาแล้ว
......กรณีแบบนี้สามารถเรียกค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลภายนอกที่เป็นต้นเหตุให้เกิดเหตุวินาศภัยได้ครับ......

ไม่มีคู่กรณี ใดๆ คับ เพราะ หายหัวไปหมดแล้ว ครับ ทั้งที่เป็นต้นเหตุของเรื่องราวทั้งหมด

224
เตรียมพร้อมออกเดินทาง ไปพักฟื้นต่อที่อู่ซักระยะ หายป่วยเมื่อไหร่ค่อยมาทำงานใหม่ อนุญาติให้ลาได้อย่างไม่มีกำหนดนิ ไม่หักเงินเดือนด้วย



เรื่องของเรื่องก็มีอยู่ว่า ก่อนจะเป็นแบบนี้ก็ขับรถไปบนถนนโดยปกติสุข พอมาถึงที่เกิดเหตุออกจากทางโค้งมามองไปข้างหน้าก็มี มอเตอร์ไซด์(เรียกว่าเป็นแก๊งก็ได้เพราะวิ่งมา 4 คัน) วิ่งสวนทางมาคร่อมเข้ามาในเลนของรถที่ผมนั่งมา สวนมาแบบเต็มถนนเลย ซึ่งคนขับรกก็ต้องตัดสินใจอย่างรวดเร็วถ้าจะชนมอเตอร์ไซด์ก็ตายหมู่แน่ อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 4 ศพแน่นอน  ทำให้คนขับรถคันที่ผมนั่งมาเลือกหักหลบ พอหักหลยปุ๊ป ก็จีวอนบิน ทันทีครับ  บินไปได้ประมาณ 3-4 ตลบเห็นจะได้ครับ จากนั้นก็ไปกระแทกเข้ากับต้นยางพาราอย่างจัง รถก็กระเด้งตะแคงอย่างภาพที่เห็นนี่แหละครับ


ขออนุญาตินำมาให้ชมกัน ถึงแม้จะไม่ค่อยเกี่ยวข้องกับเรื่องราวของเว็บวัดบางพระ แต่อยากให้เป็นเครื่องเตือนสติ สมาชิกชาวเว็บทุกท่านว่าอุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ถึงแม้เราจะระวังอย่างดีเพียงใด มันก็ยังเกิดขึ้นได้เสมอ และบางครั้งก็ต้องเลือกระหว่างมนุษยธรรม กับ ความถูกต้อง อย่างกรณีของผมเอ็นดูเขาเอ็นเราขาดมันคุ้มกันหรือไม่ กับ บุคคลกลุ่มที่ชอบเรียกตัวเองว่าเด็กแว๊น ที่ชอบสร้างความรำคาญให้ชาวบ้าน แต่ด้วยมนุษยธรรม(ถ้าเกิดชนไปก็ไม่ได้ผิดตามกฏหมายจราจรแต่ผิดเรื่องมนุษยธรรม) ถ้าเป็นท่านสมาชิกเจอแบบที่ผมเจอ จะตัดสินใจกันแบบไหนหน้อ แต่สำหรับผมก็อย่างที่เห็นนี่แหละครับ

ปล. คนที่อยู่ในรถทุกคนยังหายใจดีอยู่คับ ไม่มีรอยถลอก หรือ ฟกช้ำแต่อย่างใด ส่วนผมก็ยังถ่ายภาพได้แต่ไม่ได้เอากล้องไป มีแต่ โทรศัพท์มือถือ ภาพที่ได้ออกมาจึงเป็นเช่นนี้ ทนดูกันหน่อยนะครับ

225
กำลังจะเอาขึ้นมาบนถนนอีกครั้ง หลังจากลงไปนอนเล่นข้างถนน ได้ซักพักหนึ่งแล้ว



226
แล้วจะเอาล้อขึ้นไปทำอะไรบนนั้นล่ะครับ



สภาพด้านข้าง



227
ทางเค้ามีให้วิ่ง ทำไมไม่วิ่ง ทำไมไปสร้างรันเวย์ใหม่กันอ่ะ ครับ



บางครั้งถึงแม้เราจะระวังแล้ว แต่อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ทั้งที่เราไม่ได้เป็นผู้ประมาท แต่ถ้าคนขับรถคันที่ผมนั่งมา เกิดใจไม้ใส้ระกำขึ้นมาแค่นิดเดียวอะไรจะเกิดขึ้น (อย่างน้อยคนขับมอเตอร์ไซด์ไม่ต่ำกว่า 4 ศพแน่นอน) และถ้าชนรถผมก็ไม่ผิดด้วยเพราะอยู่ใน ทางวิ่ง(เลน)ของผม แต่ด้วยที่ ไม่อยากให้เกิดโศกนาฏกรรม สภาพที่เห็นก็เป็นเช่นนี้ ทั้งที่ ทางคณะก็ขับรถมาตามกฏจราจรอย่างปกติสุข แต่พวกเด็กแว๊น กวนเมือง แก๊งมอไซด์กวนเมืองเหล่านี้ช่างไม่ได้รู้ คิดถึงอนาคตของตัวเองเอาซะเลย

229
ขออนุญาตินอกเรื่องหน่อยนะครับ

เป็นเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นวันนี้(6 กุมภาพันธ์ 2554)เวลาประมาณ 15 นาฬิกา สภาพก็อย่างที่เห็นครับ

รถคันนี้เป็นรถคันที่กระผมใช้ในการเดินทางไปเรียนทุกวัน แต่ ณ วันนี้มันมีสภาพเช่นนี้แล้วครับ







เรื่องของเรื่องก็มีอยู่ว่า ก่อนจะเป็นแบบนี้ก็ขับรถไปบนถนนโดยปกติสุข พอมาถึงที่เกิดเหตุออกจากทางโค้งมามองไปข้างหน้าก็มี มอเตอร์ไซด์(เรียกว่าเป็นแก๊งก็ได้เพราะวิ่งมา 4 คัน) วิ่งสวนทางมาคร่อมเข้ามาในเลนของรถที่ผมนั่งมา สวนมาแบบเต็มถนนเลย ซึ่งคนขับรกก็ต้องตัดสินใจอย่างรวดเร็วถ้าจะชนมอเตอร์ไซด์ก็ตายหมู่แน่ อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 4 ศพแน่นอน  ทำให้คนขับรถคันที่ผมนั่งมาเลือกหักหลบ พอหักหลยปุ๊ป ก็จีวอนบิน ทันทีครับ  บินไปได้ประมาณ 3-4 ตลบเห็นจะได้ครับ จากนั้นก็ไปกระแทกเข้ากับต้นยางพาราอย่างจัง รถก็กระเด้งตะแคงอย่างภาพที่เห็นนี่แหละครับ

ปล. คนที่อยู่ในรถทุกคนยังหายใจดีอยู่คับ ไม่มีรอยถลอก หรือ ฟกช้ำแต่อย่างใด ส่วนผมก็ยังถ่ายภาพได้แต่ไม่ได้เอากล้องไป มีแต่ โทรศัพท์มือถือ ภาพที่ได้ออกมาจึงเป็นเช่นนี้ ทนดูกันหน่อยนะครับ

230
อนุโมทนา สาธุ ด้วยนะ คับ ในงานบุญครั้งนี้


สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ :054: :054: :054:

231
ประวัติหลวงตามหาบัว
<a href="http://www.youtube.com/v/Mg6WNUZZ9_M?autoplay=1" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">http://www.youtube.com/v/Mg6WNUZZ9_M?autoplay=1</a>

ประวัติหลวงตามหาบัว1
<a href="http://www.youtube.com/v/Hhbkccpli4g?" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">http://www.youtube.com/v/Hhbkccpli4g?</a>

ประวัติหลวงตามหาบัว2
<a href="http://www.youtube.com/v/keo94tKNPwU?" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">http://www.youtube.com/v/keo94tKNPwU?</a>

หลวงตามหาบัว
<a href="http://www.youtube.com/v/RavJCd4bS-k?" target="_blank" rel="noopener noreferrer" class="bbc_link bbc_flash_disabled new_win">http://www.youtube.com/v/RavJCd4bS-k?</a>

แหล่งที่มาของข้อมูล : youtube

232

ภาพประกอบจาก : เดลินิวส์

เมื่อวันที่ 29 ม.ค. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินจากที่ประทับแรมในตัวเมืองอุดรธานี มาถึงวัดเกสรศีลคุณ หรือวัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี เป็นการส่วนพระองค์  โดยมีนายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี นำข้าราชการเฝ้ารับเสด็จฯ ที่เรือนประทับรับรอง ภายในวัดป่าบ้านตาด ก่อนเสด็จเฝ้าเยี่ยมอาการหลวงตามหาบัว ที่ห้องปลอดเชื้อกุฏิหลวงตามหาบัว

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า พระธรรมวิสุทธิมงคล หรือหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ที่อาพาธยังพักรักษาตัวอยู่ที่ห้องปลอดเชื้อ โดยการรักษาอาการอาพาธของหลวงตามหาบัวครั้งนี้ มีแนวคิดแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือรักษาตามแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์ทางเลือก ซึ่งหมายถึง “หมอจีน” แม้ว่าจะมีคำแถลงของคณะสงฆ์ออกมาทุกครั้งว่า การรักษาอาการอาพาธหลวงตามหาบัว จะเลือกใช้ทั้ง 2 ทาง แต่วันนี้กลุ่มเครือญาติหลวงตามหาบัว ได้ทำจดหมายเวียนลงชื่อ 89 คน ถึงคณะสงฆ์และคณะแพทย์ ไม่ยินยอมให้คณะแพทย์ใช้ยาปฏิชีวนะกับหลวงตามหาบัว หลังจากร่วมประชุมกันและได้ข้อสรุปตั้งแต่คืนวันที่ 28 ม.ค.

โดยใจความในหนังสือโดยย่อ ระบุว่า “ ด้วยลูกหลาน ญาติพี่น้อง ในองค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ได้ประชุมกันแล้ว มีความเห็นตรงกันเป็นหนึ่งเดียวว่า ขอปฏิเสธขอให้การรักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะทุกประเภท และปฏิเสธการใช้สารโปรตีนแอลบูลมีนทุกประการ เพราะเห็นชัดเจนแล้วว่า ก่อนใช้ยาปฏิชีวนะและสารโปรตีนแอลบูลมีนแล้ว อาการของหลวงตานั้นแจ่มใส แข็งแรง พอสมควร แต่ภายหลังการใช้ยาดังกล่าวอาการองค์หลวงตาขาดการตอบรับ ทั้งนี้การรักษาพยาบาลและดำเนินการใดๆ ต่อองค์หลวงตา ให้เป็นไปตามวิธีการของท่านอาจารย์วันชัย วิจิตโต โดยความเห็นชอบของหลวงปู่ลี กุสลธโร ตามที่คณะสงฆ์ได้ลงความเห็นร่วมกัน เมื่อช่วงเช้าวันที่ 28 ม.ค. ณ กุฏิองค์หลวงตา”

ด้านนายสมผล ตระกูลรุ่ง ตัวแทนของกลุ่มญาติของหลวงตามหาบัวฯ และนางสมจันทร์ ศิริสุวรรณ ลูกของนางศรีเพ็ญ โลหิตดี น้องสาวของหลวงตามหาบัวฯ ร่วมกันเปิดเผยว่า ญาติๆองค์หลวงตามหาบัวฯ เห็นการรักษาที่ผ่านๆมานั้น อาการยังไม่ดี โดยญาติๆ ยังมีความมั่นใจว่าการรักษาโดยวิธีการทางธรรมชาติ ซึ่งเคยรักษามาก่อนแล้วน่าจะเป็นประโยชน์ต่อธาตุขันธ์ต่อองค์หลวงตามหาบัวฯ เพราะในภาวะอย่างนี้ธาตุขันธ์ขององค์หลวงตารับไม่ได้กับยาปฏิชีวนะ ที่ผ่านมาหลวงตาเคยเทศน์เอาไว้ว่าถูกกับยาจีน  ท่านเคยหายจากโรคมะเร็งลำไส้เพราะยาจีน   
นางสมจันทร์ฯ กล่าวว่า ญาติๆของหลวงตามีความเห็นว่า อยากให้ทำการรักษาด้วยยาของอาจารย์วันชัยฯ  และการที่ญาติๆหลวงตามหาบัวฯออกมาแสดงตัวเช่นนี้ ก็ไม่ได้เจตนาที่หลบหลู่การรักษาของคณะแพทย์ แต่ญาติๆของหลวงตาฯ ต่างเห็นพ้องกัน

ต่อมากลุ่มญาติหลวงตามหาบัว ยังแจกจ่ายเอกสารอีก 1 ฉบับ เป็นข้อตกลงแนวทางการรักษาหลวงตามหาบัว วันที่ 28 ม.ค.ที่ผ่านมา เป็นบทสนทนาของ นพ.พิชาติ ดลเฉลิมยุทธนา ผอ.รพ.ศูนย์อุดรธานี  กับคณะศิษย์ฯ ยอมรับว่า ได้หยุดใช้ยาปฏิชีวนะและโปรตีนแอลบูลมีนแล้ว ให้แต่น้ำเกลือกับสารอาหาร และเครื่องช่วยหายใจแต่ไม่มาก หลังจากให้การรักษา ความดันก็กลับเข้าสู่ภาวะปกติ

ส่วนบรรยากาศที่วัดป่าบ้านตาดตั้งแต่ช่วงเช้าวันเดียวกันนี้ ได้มีพุทธศานิกชนหลายพันคน  เดินทางมาทำบุญตักบาตรที่หน้าวัด และเข้ามาในวัดเฝ้าติดตามดูอาการอาพาธของหลวงตามหาบัว   หลังจากเมื่อวันที่ 28 ม.ค. มีกระแสข่าวลือสะพัดว่า “หลวงตาจะละสังขาร” จนคณะสงฆ์ และคณะแพทย์ ต้องออกมาแถลงอาการในช่วงบ่าย ว่าไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง ส่วนภายในวัดป่าบ้านตาด มีพระสงฆ์สายวิปัสสนากรรมฐาน หรือพระวัดป่า ทั้งใกล้และไกล เดินทางมาเฝ้าอาการหลวงตามหาบัวฯเช่นกัน มีหลายองค์จำวัดอยู่ภายในวัดป่าบ้านตาด บางองค์เดินทางกลับหลังจากทราบอาการ ขณะพุทธศาสนิกชนหลังจากใส่บาตร ได้เข้ามาร่วมทำบุญสงเคราะห์โลก ถวายผ้าป่าทองคำ ดอลลาร์เข้าคลังหลวง ผ้าป่าช่วยชาติ และผ้าป่าสร้างอาคารสงฆ์อาพาธ 98 หลวงตามหาบัว รพ.ศูนย์อุดรธานี จำนวนมากอย่างไม่ขาดสาย บางส่วนคอยฟังคำแถลงอาการอาพาธของหลวงตา และคอยเวลาเข้าไปกราบหลวงตาที่กุฏิ ซึ่งคณะสงฆ์อนุญาตในบางช่วงเวลา

ด้านพระอาจารย์อินถวาย สันตุสโก เจ้าอาวาสวัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี อ่านแถลงว่า คณะแพทย์ได้กราบรายงานต่อคณะสงฆ์ว่า เมื่อวันที่ 28 ม.ค. เวลา 17.00 น. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงร่วมประชุมกับคณะศิษย์ หลวงตายังมีอาการเหนื่อยอ่อนเพลีย สัญญาณชีพปกติ ฟังเสียงปอดด้านขวาผิดปกติ เอ็กซเรย์ปอดพบชายปอดด้านขวาทึบ แพทย์วินิจฉัยว่า มีอักเสบติดเชื้อในกระแสโลหิต หลวงตาอนุญาตให้ใช้ยาปฏิชีวนะนัดระงับอาการติดเชื้อ แพทย์ได้ถวายการรักษาเพื่อประคับประคองธาตุขันธ์ จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน
     
“อาการหลวงตามหาบัว ทรงๆทรุดๆ ผู้ที่อยู่ทางไกลก็ตั้งจิตอธิษฐาน ขอประกอบคุณงามความดี สิ่งใดที่ไม่ดีก็ไม่คิด ไม่พูด ไม่ทำ เท่านั้นก็บูชาองค์หลวงตาบัวแล้ว” พระอาจารย์อินถวาย กล่าว
   
ต่อมาเวลา 15.00 น. พระอาจารย์นภดล บันทะโน เจ้าอาวาสวัดป่าดอยลับงา จ.กำแพงเพชร ได้รับมอบหมายจากคณะสงฆ์ ร่วมกับ นพ.พิชาติ ดลเฉลิมยุทธนา ผอ.รพ.อุดรธานี แถลงอาการอาพาธของหลวงตามหาบัวว่า วันนี้หลวงตามหาบัวยังมีอาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย และมีเสมหะ ยังคงใส่เครื่องช่วยหายใจและพบยังมีไข้อยู่เล็กน้อย ความดันโลหิตเริ่มลดต่ำลง ส่วนผลเอกซเรย์ปอดพบว่า มีการอักเสบในกลีบปอดข้างขวาล่างเพิ่มมากขึ้น โดยสรุปปัญหาขณะนี้ คือ ปอดอักเสบติดเชื้อ ความดันโลหิตลดต่ำลง หัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นบางครั้ง สำหรับการรักษานั้น เป็นแบบประคับประคอง โดยให้อาหารทางเส้นเลือด

เวลา 18.10 น. พระอาจารย์นภดล ได้ประกาศแถลงข่าวอาการอาพาธของหลวงตามหาบัวอีกครั้ง ซึ่งคณะแพทย์มีความเห็นว่าอยู่ในขั้นวิกฤติ ทางคณะสงฆ์มีความเห็นจะแถลงอาการทุก 1 ชั่วโมง โดยเมื่อเวลา 18.00 น.หลวงตามหาบัวมีความดันลดลง อยู่ที่ 74/32 การหายใจที่หน้าอกลดลงกว่าเดิมและแรงกว่าเดิมเป็นบางครั้ง แต่ยังคงสม่ำเสมอ ต่างจากเมื่อ 15.00 น.ที่ได้แถลงข่าวอาการของหลวงมหาบัวว่ายังไม่น่าวิตกมากนัก กระทั่งเวลาผ่านไป 3 ชั่วโมง อาการหลวงตามหาบัวเริ่มเข้าขั้นวิกฤติ เนื่องจากยาพิเศษที่ใช้รักษาหมดลงไป คณะแพทย์ต้องสั่งให้นำยาขึ้นเครื่องบินมาส่ง และได้นำมารักษาหลวงตาฯ ซึ่งในขณะนี้อาการเริ่มดีขึ้น โดยความดันขึ้นมาอยู่ที่ 80/35 จนเวลา 18.50 น.ความดันอยู่ที่ 82 ซึ่งคณะแพทย์ได้เฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด

ล่าสุด เมื่อเวลา 03.35 น. วันที่ 30 ม.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลวงตาบัว ได้ละสังขาร แล้ว สิริอายุรวม 98 ปี คณะแพทย์เตรียมแถลงอย่างเป็นทางการอีกครั้งเช้านี้


แหล่งที่มาของข้อมูล : เดลินิวส์

233
"หลวงตาบัว"ละสังขารแล้วเวลา03.53น.สิริมายุรวม 98 ปี ทีมแพทย์แถลงอีกครั้งเช้านี้


ภาพประกอบจาก : คมชัดลึก

รายงานข่าวจากวัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี ว่าเมื่อเวลา 03.53 น. หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน" แห่งวัดป่าเกสรศีลคุณ (วัดป่าบ้านตาด) ละสังขาร แล้ว สิริอายุรวม 98 ปี ซึ่งคณะแพทย์เตรียมแถลงอย่างเป็นทางการอีกครั้งเช้านี้

สำหรับ หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน" แห่งวัดป่าเกสรศีลคุณ วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี นั้น นาม บัว โลหิตดี ชาติภูมิ ในครอบครัวชาวนาผู้มีอันจะกิน ณ บ้านตาด อุดรธานี  เกิดเมื่อ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๖ ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน๙ ปีฉลู ณ บ้านตาด อำเภอหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี บิดา นายทองดี โลหิตดี    มารดา นางแพงศรี โลหิตดี พี่น้องทั้งหมด ๑๖ คน  สถานภาพ

หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน   สมัยเด็ก เคารพเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา โดยได้ร่วมทำบุญตักบาตรกับผู้ใหญ่อยู่เสมอ  วัยหนุ่ม เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงของครอบครัว ขยันขันแข็ง ทำงานอะไรทำจริงๆ จังๆ เป็นที่ไว้วางใจของพ่อแม่ในการงานทั้งปวงคู่ครอง เดิมไม่เคยคิดจะบวช เพราะอยากมีครอบครัว แต่มักมีอุปสรรคให้แคล้วคลาดทุกทีไป เหตุที่บวช เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี พ่อแม่ขอร้องให้บวชตามประเพณีอยู่หลายครั้ง ท่านก็ทำเฉย ๆ ตลอดมา ไม่ตอบรับหรือปฏิเสธแต่อย่างใด ในครั้งสุดท้ายนี้ ด้วยความปรารถนาอย่างแรงกล้า หวังพึ่งใบบุญจากการบวชของลูกให้ได้ ถึงกับทำให้พ่อแม่น้ำตาร่วง ครั้งนี้ท่านรู้สึกสะเทือนใจและเห็นใจพ่อแม่มาก จึงตัดสินใจ และยอมบวชตามประเพณี เพื่อตอบแทนพระคุณพ่อแม่ โดยตั้งใจไว้ในตอนต้นนี้ว่า จะบวชเพียงระยะสั้น ๆ เท่านั้น วันบวช ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ ณ วัดโยธานิมิตร อุดรธานี     

พระอุปัชฌาย์ ชื่อ ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์(จูม พันธุโล) วัดโพธิสมภรณ โดยมีท่านพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ฉายานามว่า "ญาณสมฺปนฺโน" แปลว่า "ถึงพร้อมแล้วด้วยการหยั่งรู้"   เคารพพระวินัย ด้วยเดิมมีนิสัยจริงจัง จึงบวชเพื่อเอาบุญกุศลจริง ๆ และตั้งใจรักษาสิกขาบทวินัยน้อยใหญ่ ่อย่างเคร่งครัด ในพรรษาแรกท่านได้ตั้งสัจอธิษฐานว่า ในการทำวัตรเช้า-เย็นรวมและการบิณฑบาต จะไม่ให้มีวันใดขาดเลย และท่านก็ทำได้ตามที่ตั้งคำสัตย์ไว้  เรียนปริยัติ เมื่อได้เรียนหนังสือทางธรรม ตั้งแต่นวโกวาท พุทธประวัติ ประวัติพระสาวกอรหันต์ ที่ท่านมาจากสกุลต่างๆตั้งแต่พระราชา เศรษฐี พ่อค้า จนถึงประชาชน

หลังจากฟังพระพุทธโอวาทแล้วต่างก็เข้าบำเพ็ญเพียร ในป่าเขาอย่างจริงจัง เดี๋ยวองค์นั้นสำเร็จเป็นพระอรหันต์ในป่า เดี๋ยวองค์นี้สำเร็จในเขา ในเงื้อมผาในที่สงบสงัด ท่านก็เกิดความเชื่อเลื่อมใสขึ้นมา อยากจะเป็นพระอรหันต์ พ้นจากทุกข์ทั้งปวงในชาตินี้อย่างพระสาวกท่านบ้าง สงสัย ช่วงเรียนปริยัติอยู่นี้ มีความลังเลสงสัยในใจว่า หากท่านดำเนินและปฏิบัติตามพระสาวกเหล่านั้นจะบรรลุถึงจุดที่พระสาวกท่านบรรลุหรือไม่ และบัดนี้จะยังมีมรรคผลนิพพานอยู่ เหมือนในครั้งพุทธกาลหรือไม่  ตั้งสัจจะ ด้วยความมุ่งมั่นอยากเป็นพระอรหันต์บ้าง ท่านจึงตั้งสัจจะไว้ว่า จะขอเรียนบาลีให้จบแค่เปรียญ ๓ ประโยคเท่านั้น ส่วนนักธรรมแม้จะไม่จบชั้นก็ไม่เป็นไร จากนั้นจะออกปฏิบัติกรรมฐานโดยถ่ายเดียว จะไม่ยอมศึกษาและสอบประโยคต่อไปเป็นอันขาด  เรียนจบ ท่านสอบได้ทั้งนักธรรมเอก และเปรียญ ๓ ประโยคในปีที่ท่านบวชได้ ๗ พรรษา ณ วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ และสถานที่แห่งนี้เอง เป็นที่แรกที่ท่านได้มีโอกาสพบเห็นท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต

ต่อมา ได้กลายเป็นพระอาจารย์องค์สำคัญที่สุดในชีวิตของท่าน ออกปฏิบัติ เมื่อเรียนจบมหาเปรียญแล้ว แม้จะมีพระมหาเถระในกรุงเทพฯ สนับสนุนให้ท่านเรียนต่อในชั้นสูง ๆ ขึ้นไปก็ตาม แต่ด้วยท่านเป็นคนรักคำสัตย์ยิ่งกว่าชีวิต ดังนั้นเมื่อมีโอกาส ท่านจึงเข้ากราบลาพระผู้ใหญ่ และออกปฏิบัติกรรมฐานอย่างจริงจัง โดยมุ่งหน้าไปทางป่าเขาแถบจังหวัดนครราชสีมา แล้วเข้าจำพรรษาที่ อำเภอจักราช นับเป็นพรรษาที่ ๘ ของการบวช พากเพียร ท่านเร่งความเพียรตลอดทั้งพรรษา ไม่ทำการงานอื่นใดทั้งนั้น มีแต่ทำสมาธิภาวนา-เดินจงกรมอย่างเดียวทั้งวันทั้งคืน จนจิตได้รับความสงบจากสมาธิธรรม  มุ่งมั่น แม้พระเถระผู้ใหญ่ท่านอุตส่าห์เมตตาตามมาสั่งให้กลับเข้าเรียนบาลีต่อที่กรุงเทพฯอีก แต่ด้วยความมุ่งมั่นและตัดสินใจเด็ดขาดแล้ว ที่จะพ้นทุกข์ให้ได้ภายในชาตินี้ ท่านจึงหาโอกาสปลีกตัวออกปฏิบัติได้อีกวาระหนึ่ง   จิตเสื่อม

จากนั้นท่านกลับไปบ้านเกิดของท่าน เพื่อทำกลดไว้ใช้ในการออกวิเวกตามป่าเขาจิตที่เคยสงบร่มเย็น จึงกลับเริ่มเสื่อมลง ๆ เพราะเหตุที่ทำกลดคันนี้นี่เอง  เสาะหา..อาจารย์ เดือนพฤษภาคม ๒๔๘๕ เดินทางไปขออยู่ศึกษากับท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เหตุการณ์บังเอิญกุฏิที่พักเพิ่งจะว่างลงพอดี ท่านพระอาจารย์มั่นจึงเมตตารับไว้ และเทศน์สอนตรงกับปัญหาที่เก็บความสงสัยฝังใจมานานให้คลี่คลายไปได้ว่า ดินฟ้าอากาศแร่ธาตุต่างๆ เขาเป็นของเขาเอง เขาไม่ได้เป็นมรรคผลนิพพาน เขาไม่ได้เป็นกิเลส กิเลสจริง ๆ มรรคผลนิพพานจริง ๆ อยู่ที่ใจ หากกำหนดจิตจ่อด้วยสติที่ใจแล้ว จะเห็นความเคลื่อนไหวของทั้งธรรม ทั้งกิเลสในใจ

ขณะเดียวกันจะเห็นมรรคผลนิพพานไปโดยลำดับ  ปริยัติ..ไม่เพียงพอ จากนั้นท่านพระอาจารย์มั่นเมตตาแนะต่อว่า ธรรมที่เรียนมาถึงขั้นมหาเปรียญมากน้อยเพียงใด ยังไม่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ได้ แต่กลับจะเป็นอุปสรรคต่อการภาวนา เพราะอดจะเป็นกังวล และนำธรรมที่เรียนมานั้น มาเทียบเคียงไม่ได้ในขณะที่ทำใจให้สงบ และยังจะกลายเป็นสัญญาอารมณ์ คาดคะเนไปที่อื่น จนกลายเป็นคนไม่มีหลักได้ ดังนั้น เพื่อให้สะดวกในเวลาทำความสงบหรือจะใช้ปัญญาคิดค้น ให้ยกธรรมที่เรียนมานั้นขึ้นบูชาไว้ก่อน ต่อเมื่อถึงกาลอันสมควร ธรรมที่เรียนมาทั้งหมด จะวิ่งเข้ามา ประสานกันกับด้านปฏิบัติ และกลมกลืนกันได้อย่างสนิท       

การศึกษาและปฏิบัติ ท่านได้ศึกษาธรรมอยู่กับหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต จนกระทั่งหลวงปู่มั่นมรณภาพเป็นระยะเวลา ๘ ปี และถึงที่สุดแห่งธรรมที่วัดดอยธรรมเจดีย์ จังหวัดสกลนคร

ประวัติศาสตร์ช่วยชาติ เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นวันเปิดโครงการช่วยชาติ โดยมีเจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ เสด็จไปเป็นประธานเปิดที่สวนแสงธรรม  หลวงตาพูดว่า "(เวลานี้) น่าจะเป็นประวัติศาสตร์ก็ได้ในเมืองไทยของเรา ที่ว่าพระเป็นผู้นำนี่ไม่เคยมีนะ เริ่มมีหลวงตาบัวคนเดียวนี้แหละออกประกาศตนทีเดียว โดยไม่มีใครชักชวน ไม่มีโครบอกเล่า ด้วยอำนาจแห่งความเมตตาชักชวนเอง ดูสภาพของเมืองไทยแล้วพี่น้องชาวไทยทั้งหลายต่างคนต่างมีความทุกข์ร้อนทุกหย่อมหญ้ากันไปโดยลำดับลำดาไม่ว่าสถานที่ใด ก็ทนใจอยู่ไม่ได้ จึงต้องออกความคิด ความเห็นในแง่ต่าง ๆ ที่จะนำชาติไทยของเราให้เป็นไปด้วยความแคล้วคลาด ปลอดภัย หาทางใดก็ไม่เจอ ตามความสามารถความคิดอ่านของตัวเอง หาแล้วหาเล่า หาไม่เจอ สุดท้ายก็เลยต้องเอาหลวงตาบัวเป็นตัวประกัน นำพี่น้องทั้งหลายเพื่อจะบริจาคทรัพย์ที่มีอยู่ของตนเข้าช่วยชาติของเราด้วยความบริสุทธิ์ใจ นี้แหละเริ่มต้นเหตุเป็นอย่างนี้จึงได้ออกประกาศตน"

แหล่งที่มาของข้อมูล : คมชัดลึก

234
เพื่อให้ดูได้ง่าย ๆ ขอทำการแก้ไขหน่อยนะ คับ

1.
[youtube=425,350]d-icDYjQ-cA[/youtube]

2.
[youtube=425,350]U2OT7VCIgIo[/youtube]

3.
[youtube=425,350]dPTTpZiqrOQ[/youtube]

4.
[youtube=425,350]fVPh7NP-LTY[/youtube]

5.
[youtube=425,350]qoYY0rU0Dus[/youtube]

6.
[youtube=425,350]DfoB6jg7I9Q[/youtube]

7.
[youtube=425,350]zi34mufQtqE[/youtube]

8.
[youtube=425,350]f3dWvgXRcWs[/youtube]

235
ขอบคุณสำหรับภาพถ่ายมุมสวยๆครับ  25;
ชอบถ่ายภาพเก็บไว้ครับ ก็เลยนำมาแบ่งปันกันชม



ขอขอบคุณท่านเผ่าพงษ์พระกฤษณะมากๆครับ
สำหรับภาพสวยๆงามๆทุกรูป
:050:  :050:  :050:
ชอบถ่ายภาพเก็บไว้ครับ ก็เลยนำมาแบ่งปันกันชม


----------------------------------------------------------
ดูภาพ...กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้
    -  คอลเลคชั่นอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) และสหายธรรม เข้าปริวาส ณ วัดสาวชะโงก
    -  สถานที่เก็บอัฐิหลวงพ่อขิก หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก
    -  ศาสนสถานแบบไทย-จีน อยู่ด้วยกัน ในแบบของคน แปดริ้ว
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา ภาค๒


236
กราบนมัสการพระอาจารย์โด่ง มากๆครับคิดถึงพระอาจารย์มากๆเลยได้เห็นภาพถ่ายแล้วก็ชื่นใจครับ ขอบพระคุณพี่มากครับที่นำภาพมาฝากให้ได้ชมกันครับผมกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงครับ  :054: :054: :054:
นำมาแบ่งปันกัน ครับ ได้มีโอกาส อยู่ใกล้ๆ ท่านอาจารย์ก็เลยบันทึกภาพเก็บไว้ครับ


ถ่ายภาพได้สุดยอดมาก... สวยมาก A+ ถ้วยทอง โลห์เกียรติยศ ให้หมด!!

นมัสการหลวงพ่อโด่ง...ฉันเยอะๆ ดูซูบไปนิด..

ขอบคุณมากครับ

จริง ๆ แล้วผมก็ยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษา ฝึกถ่ายอยู่ครับ

แต่ถ้ามีโอกาส จะนำภาพที่เกี่ยวข้องกับทางเว็บมาโพสอีกนะครับ ...


ดูภาพ...กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้
    -  ปีใหม่...ไปเที่ยววัดโสธร & วัดห้วยมงคล
    -  สถานที่เก็บอัฐิหลวงพ่อขิก หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก
    -  ศาสนสถานแบบไทย-จีน อยู่ด้วยกัน ในแบบของคน แปดริ้ว
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา ภาค๒


237
O0...คงต้องขอบอกว่าขอบพระคุณมากๆครับ..ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราว..เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย..
...ของผู้คน..ที่เกี่ยวข้องกับแบบวิถีในพระพุทธศาสนาของเรา..
...เรื่องราวต่างๆที่ท่าน ได้เดินทางไปพบเห็นมานั้นล้วนเป็นประสพการณ์ดีๆที่ต้องของบอกว่า
...น่าจดจำตราบนานเท่านานเลยก็ว่าได้ ขอบคุณ..ภาพทุกภาพที่ถ่ายได้สวยขั้นเทพ.. :015:
....ขอบคุณความตั้งใจจริงของท่านที่นำเสนอ..ขอบคุณขอรับ.. :054:

สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ
เน้นถ่ายเรื่องราวมากกว่า ส่วนเรื่องสวยงาม(ศิลป์)คงต้องฝึกกันอีกเยอะ ครับ


ขอขอบคุณสำหรับรูปภาพทุกๆรูปครับ
เหมือนกับได้ไปเองเลยครับ อิอิอิ
:079:  :079:  :079:
สาธุ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ
เป็นบันทึกการเดินทาง จริง ๆ ครับ อยากถ่ายทอดออกมาในแบบเล่าเรื่องด้วยภาพอ่ะ ครับ


ดูภาพ...กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้
    -  คอลเลคชั่นอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) และสหายธรรม เข้าปริวาส ณ วัดสาวชะโงก
    -  ปีใหม่...ไปเที่ยววัดโสธร & วัดห้วยมงคล
    -  สถานที่เก็บอัฐิหลวงพ่อขิก หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก
    -  ศาสนสถานแบบไทย-จีน อยู่ด้วยกัน ในแบบของคน แปดริ้ว
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา

238
ขอบคุณมากครับ สำหรับภาพ แห่งประวัติศาสตร์

ที่นำมาแบ่งปันแก่อนุชนรุ่นหลังได้ชื่นชม

ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับคนรุ่นหลังได้ชมบารมี

239
สำหรับบันทึกการเดินทางในรอบนี้ ก็ขอสิ้นสุดลงไว้เพียงแค่นี้

ถ้าหากมีส่วนหนึ่งส่วนใดผิดพลาด หรือ ไม่สมควร ประการใด

ก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย


สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ ทุกๆ ท่านที่สละเวลา และสายตา เข้ามาชมบันทึกเรื่องราวการเดินทางของ ข้าพเจ้าและคณะในครั้งนี้


241
ถึงเวลาต้องเดินทางกลับ จากวัดสาวชะโงกสู่สุราษฎร์ธานีแล้ว(วันที่ 7 มกราคม 2554) ตอนกลับก็ได้แวะสักการะ หลวงปู่ทวด วัดห้วยมงคล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์


242
ถ่ายรูปบริเวณรอบ ๆ วัดก็ได้เจอกับโรงเจอีกแห่งหนึ่งจึงได้เข้าไปเก็บภาพมา...ต่อ


243
หลังจากกลับจากวัดโสธรวรารามวรวิหาร กระผมจึงได้ไปหาที่ถ่ายรูปบริเวณรอบ ๆ วัดก็ได้เจอกับโรงเจอีกแห่งหนึ่งจึงได้เข้าไปเก็บภาพมาดังต่อไปนี้


244
ภายในวัดโสธรวรารามวรวิหาร มีโรงเจของพี่น้องเชื้อสายจีน


246
หลังจากออกจากการร่วมอยู่ปริวาสกรรมแล้ว อุตส่าห์ข้ามน้ำ ข้ามทะเลมาจากดินแดนปักษ์ใต้ ก็อย่าให้เสียเที่ยว ไปให้ถึงสิ่งคู่บ้านคู่เมืองแปดริ้ว อย่างวัดโสธรวรารามวรวิหาร(หลวงพ่อโสธร)อันลือเลื่อง


247
ต่อกันด้วยพิธิปิดการ ร่วมอยู่ปริวาสกรรม วันที่ 6 มกราคม 2554


248
พลังศรัทธา...ในงานปริวาสกรรม...เวอร์ชั่นผู้ที่อยู่เบื้องหลัง..อาหารการกิน เรื่องปากเรื่องท้อง


249
พลังศรัทธา...ในงานปริวาสกรรม...เวอร์ชั่นอาหารการกิน เรื่องปากเรื่องท้อง


250
พลังศรัทธา...กับ...การทำบุญตักบาตร...ในงานปริวาสกรรม...เวอร์ชั่นเด็กๆ


254
การปฏิบัติธรรม ของพระปริวาส(พระอาจารย์เมสันต์ หรือ อ.โด่ง)


255
พิธีเปิด..การร่วมอยู่ปริวาสกรรม ณ วัดสาวชะโงก อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยเจ้าคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นประธานในพิธีเปิด


256
การเตรียมงานของอุบาสก อุบาสิกา ญาติโยม ช่วยกันจัดดอกไม้ประดับลานธรรม...


257
เนื่องจากภาพมีมาก...ทำให้การเปิดกระทู้ใช้เวลามาก บางครั้งก็โหลดเพจไม่สำเร็จ

จึงขออนุญาติ ตั้งกระทู้ใหม่ ตามลิงค์ด้านล่างนี้

บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา ภาค๒

258

259
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้

คอลเลคชั่น สัตว์เลี้ยง


ขนาดแมวยังห้อยปลัดขิกเลยครับ

260
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้

เจดีย์หลวงพ่อขิก

เจดีย์หลวงพ่อเหลือ

อดีตเจ้าอาวาสวัดสาวชะโงก ตำนานปลัดขิกอันโด่งดัง


261
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้


ภาพล่างซ้ายคือ เจ้าอาวาสวัดสาวชะโงก
ภาพล่างขวาคือ เจ้าสำนักวิปัสสนากัมมัฎฐานวัดสาวชะโงก

262
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้


263
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาสในครั้งนี้


265
วัดสาวชะโงก.....สถานที่จัดงานปริวาส


266
น่าจะบูรณะนะครับ เคยไปกราบท่านอยู่ครับ วัดท่านอยู่ริมแม่น้ำบางปะกง จะไปกราบหลวงพ่อขาว ท่านไม่อยู่ครับ ไปฉันเพลข้างนอก น่าเสียดายมากครับ  :016: :016:
ครับผม กว่าจะได้รู้ก็เดินหาเอาซะนานเลยครับ ว่าอันไหนเป็นของใคร แต่ด้วยเหตุผลเช่นใดก็ไม่ทราบได้ ว่าทำไมเค้าไม่บูรณะ บางทีทางวัดอาจจะอยากให้ดูเป็นธรรมชาติอย่างเดิมก็เป็นได้นะครับ

ดูขลังมากสภาพวัด
ออกแนวน่ากลัวแล้วแบบนี้
ครับผม เมื่อก่อนหน้านี้ไม่นาน มีพระมรณะภาพในกุฏิข้างมณฑปหลวงพ่อเหลือด้วยครับ กว่าจะเจอสังขารของท่าน ก็ผ่านไปหลายวันแล้ว สภาพสังขารก็ือืดแล้วครับ  ณ ปัจจุบันนี้พอเวลาค่ำๆ จะไม่ค่อยมีคนอยากเข้าไปแถวๆ มณฑปหลวงพ่อเหลือซักเท่าไหร่อะครับ


------------------------------------------------------------
ดูภาพ...กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้
    -  คอลเลคชั่นอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) และสหายธรรม เข้าปริวาส ณ วัดสาวชะโงก
    -  ปีใหม่...ไปเที่ยววัดโสธร & วัดห้วยมงคล
    -  ศาสนสถานแบบไทย-จีน อยู่ด้วยกัน ในแบบของคน แปดริ้ว
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา ภาค๒

269
สถานที่จัดงานปริวาสกรรม วัดสาวชะโงกเป็นวัดที่สร้างมานานตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ของตำบลสาวชะโงกอยู่ริมแม่น้ำบางปะกงถ้าเดินทางมาทางน้ำจะเห็นวิวของวัดสาวชะโงกที่ตั้งอยู่บนฝั่งที่งามสง่าสวยงาม


270
สถานีรถไฟกรุงเทพ(หัวลำโพง)


271
ดูภาพ...กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้
    -  คอลเลคชั่นอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) และสหายธรรม เข้าปริวาส ณ วัดสาวชะโงก
    -  ปีใหม่...ไปเที่ยววัดโสธร & วัดห้วยมงคล
    -  สถานที่เก็บอัฐิหลวงพ่อขิก หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก
    -  ศาสนสถานแบบไทย-จีน อยู่ด้วยกัน ในแบบของคน แปดริ้ว
    -  บันทึกการเดินทาง เข้าปริวาสกรรม จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง ฉะเชิงเทรา ภาค๒

--------------------------------------------------------------------------------------
เป็นบันทึกการเดินทาง จากสถานีรถไปสุราษฎร์ธานี ถึง วัดสาวชโงก อ.บางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

เนื่องจากระไฟช้ากว่ากำหนดการ ในตั๋วไปประมาณ 2 ชั่วโมงกว่า จึงออกตระเวณบันทึกภาพไปรอบๆ สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี

เริ่มออกเดินทางวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553


272
ลงภาพไม่ได้ครับ

ลองเข้าไปอ่านวิธีการโพสต์รูปลงบอร์ด คลิกที่นี่

273
พระนอน...วัดใหญ่ชัยมงคล...




ขออภัยสมาชิกทุกท่านนะ ครับ ที่กระผมนำเอากระทู้เก่ามาตอบ

เหตุผลเพื่อนำภาพปัจจุบัน(ที่กระผมถ่ายเอง)มาประกอบ ข้อมูลที่มีอยู่ในกระทู้ครับ

279
มีโอากาสท่องเที่ยว ถ่ายภาพ ณ วัดใหญ่ชัยมงคล จึงขออนุญาตินำเสนอผลงานการถ่ายภาพ เล็กๆ น้อยนะครับ






280
เจ้าแม่กวนอิม....






ขอขอบคุณน้ำใจไมตรีของเจ้าของพื้นถิ่น ที่ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี

283
อีกประเด็นที่ผมเห็น คือ ไม่รู้คนที่กำลังทำ อ่านหนังสือไทยไม่ออก หรือว่ามองไม่เห็นป้ายกันแน่ แต่ผมเข้าไปแล้วเห็นภาพแบบนี้แล้วรู้สึกสลดหดหู่ กับสังคมไทย ขนาดในศาสนสถานแท้ๆ


284
ประเด็นสำคัญในการนำเสนอภาพในชุดนี้เป็นการสะท้อนให้เห็นว่า วัดโดยส่วนใหญ่ เมื่อธง อยู่ในสภาพแบบนี้ก็ยังปล่อยให้เป็นอยู่แบบนี้

ในมุมมองของผมคิดว่าสมควรจะมีการเปลี่ยนแปลง แก้ไขให้อยู่ในสถาพที่เหมาะสมยิ่งกว่านี้นะครับ





285
หลังจากกลับจากวัดโสธรวรารามวรวิหาร กระผมเองก็ได้เดินหาที่ถ่ายภาพบริเวณรอบๆ วัดสาวชะโงกก็ได้เจอกับโรงเจ ที่ชุมชนบางคล้า ก็ไม่พลาดที่จะเก็บบันทึกเรื่องราวด้วยภาพมาฝากกันอีกครับ


286




สิ้นสุดการนำเสนอ สำหรับโรงเจในวัดโสธรวรารามวรวิหาร ไว้เพียงแค่นี้ครับ

288
สำหรับผมมองเห็นวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของอุบาสก อุบาสิกา ชาวแปดริ่ว(ฉะเชิงเทรา) มีการศรัทธาในพุทธศาสนาอยู่ 2 แบบด้วยกันคือแบบไทย(พุทธศาสนาเถรวาท = วัด) และแบบจีน(พุทธศาสนามหายาน = โรงเจ) ซึ่งเท่าที่ได้เห็นมา ในวัดโสธรวรารามวรวิหาร มีโรงเจอยู่ภายในวัด เรียกได้ว่ามาที่เดียว ได้ไหว้ พระทั้ง 2 ส่วน  เพราะคนในพื้นที่โดยส่วนใหญ่จะมีเชื้อสายจีน

จึงได้นำภาพ ของโรงเจภายในวัโสธรวรารามวรวิหาร มาให้ได้ชมกันคับ




290
เจดีย์เก็บอัฐิ หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก






291
เจดีย์เก็บอัฐิ ของหลวงพ่อขิก วัดสาวชะโงก






จากป้ายบอกว่า ศก.๑๓๑

292
อ้างถึง
คำว่า  "ปลัดขิก"  แท้จริงก็คือ  รูปศิวลึงค์  นั่นเอง  หรือที่บางคนบอกว่าเป็นรูปของอวัยวะเพศชายก็ไม่ผิด  ปลัดขิกของเกจิคณาจารย์ในเมืองไทยที่ได้รับความนิยมนั้นมีอยู่หลายสำนัก  แต่ที่ขึ้นชื่อมากคือ  หลวงพ่อเหลือ  วัดสาวชะโงก  อ.บางคล้า  จ.ฉะเชิงเทรา  และหลวงพ่ออี๋  วัดสัตหีบ  ชลบุรี

ที่มาของข้อมูล : หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 10 พฤษภาคม 2552

เมื่อส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ที่ผ่านมา ผมได้ไปเข้าปริวาสที่วัดสาวชะโงก จึงได้บันทึกภาพสถานที่เก็บอัฐิของหลวงพ่อขิก และ หลวงพ่อเหลือมา จึงนำภาพมาแบ่งปันกันดูครับ


293
วัดโสธรวรารามวรวิหาร เพิ่มเติม






294
วัดโสธรวรารามวรวิหาร เพิ่มเติม






295
โครงการในอนาคต...


สิ้นสุดการนำเสนอ สำหรับ วัดห้วยมงคล

297
เข้ามาใกล้ๆ กันอีกซักนิด







299
สะดุดตากับ ช้างสามเศียร อยู่นาน....




300
หลังจากนั้น ก็เดินทางกลับ(จากจังหวัดฉะเชิงเทรา - สุราษฎร์ธานี) ระหว่างทางก็ผ่านวัดห้วยมงคล จ.ประจวบคีรีขันธ์ จึงได้และสักการะ หลวงปู่ทวด เพื่อเป็นมงคลชีวิตต้อนรับปีใหม่









301
มุม...ไกลๆ




สำหรับทริป วัดโสธรวรารามวรวิหาร ขอสิ้นสุดการนำเสนอ ไว้เพียงแค่นี้ เพื่อความสะดวกเรื่องการเปิดกระทู้(ไม่กินแบนวิดมาก)

305
เมื่อช่วงปีใหม่ที่ผ่านมา

หลังจากอยู่ปริวาสิกรรม ที่วัดสาวชะโงก เสร็จแล้วก็ได้มีโอกาสแวะไปสักการะ หลวงพ่อโสธร วัดโสธรวรารามวรวิหาร

ก็เลยบันทึกภาพติดไม้ติดมือมาฝากกันครับ









306
เมื่อ สิ้นสุดการเข้าปริวาส ท่านอาจารย์ก็ได้เดินทางไปทำภารกิจที่จังหวัดชลบุรีต่อ

แต่ก่อนจะออกเดินทางท่านอาจารย์ก็ได้จัดการจัดหารถเพื่อเดินทางกลับให้คณะของกระผม(10รูป)จากฉะเชิงเทรา ถึง สุราษฏร์ธานี เรียบร้อยแล้ว

ศิษย์ขอกราบขอบพระคุณ ท่านอาจารย์ไว้ ณ ที่นี้ด้วย





สุดท้ายถ้าหากภาพที่โพสไป ภาพหนึ่งภาพใด ไม่สมควรขอท่านอาจารย์อภัยให้ศิษย์ ด้วยครับ


จากภาพสุดท้าย ถ้าสังเกตุดี ๆ จะเห็นมีอยู่ท่านหนึ่งใส่เสื้อเว็บบอร์ดวัดบางพระด้วย แต่ผมจำชื่อของท่านไม่ได้แล้วต้องขออภัยด้วย ถ้าเจ้าตัวเข้ามาเห็นแสดงตัวด้วยคับ

308
สหายธรรม จากดินแดนสุราษฎร์ธานี และ ดินแดนถ้ำเสือ กระบี่








309
ยามที่พระ ปริวาสิกะ พระมานัตตะ รูปอื่นพักผ่อน แต่ท่านอาจารย์กลับ.....




:054: :054: :054:

310
ในช่วงเวลาของการฉันอาหารแต่ละมื้อก็ได้มีโอกาสบันทึกภาพเก็บไว้




ภาพนี้หลังจากฉันอาหารเสร็จ ก็มีการสนทนาธรรมกับสหายธรรมของท่าน

311
ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ ที่ผ่านมี ได้มีโอกาส อยู่ปริวาสกรรม ณ วัดสาวชะโงก อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา

ในที่นี้มีอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) ร่วมอยู่ปริวาสกรรมด้วย จึงได้บันทึกภาพของท่านตามจังหวะ และโอกาส ที่พอจะเอื้ออำนวย(ตากล้องก็เป็นลูกกรรมจึงทำให้ไม่สะดวกในการบันทึกภาพ)

ก็เลยนำภาพของท่านอาจารย์และสหายธรรม มาแบ่งปันให้พี่น้องชาวบางพระได้รับชมกันคับ



ถ้าภาพถ่ายออกมาไม่สวยก็ขออภัยด้วยนะ ครับ ... พยายามเต็มที่แล้วครับได้แต่นี้แล้วจริงๆ ครับ

312
ขอบคุณมากครับสำหรับภาพถ่าย สวย ๆ

อยากไปสักการะ อีกซัก ครั้ง ถึงแม้จะเคยไปแล้วก็ตาม

ได้เห็นพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนมีต่อพระพุทธชินราช แล้ว รู้สึกอบอุ่น

313
ขอบคุณสำหรับภาพ ถ่ายสวยๆ ครับ

โพสแรกของท่าน คือ วัดใหญ่ชัยมงคล ใช่หรือไม่คับ

ภาพนี้ผมถ่ายเอาไว้เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๓


โพสที่สองของท่าน คือ วัดพนัญเชิงวรวิหาร ใช่หรือไม่ ครับ

ภาพนี้ผมถ่ายเอาไว้เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๓


ถ้าผิดพลาดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะ คับ เพราะดูจากภาพ คุ้นๆ เหมือนกันที่ผมเคยถ่ายมาเลยครับ ผมเองก็เพิ่งจะเดินทางไปสักการะ สถานที่เหล่านี้มาเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมานี่เอง ครับ ดูภาพคลิกที่นี่

314
ขออนุญาติ แจมด้วยครับ

พอดีได้มีโอกาสสักการะมาเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา เมื่อครั้งเปิด มจร. วังน้อย












315
เข้ามาอ่านด้วยคน คับ เพราะผมเองก็ไม่ค่อยสันทัดเรื่องกล้อง

เข้ามาอ่านเพื่อเพิ่มพูนความรู้และแนวทางในการเลือกซืัอกล้อง(เพิ่ม) คับผม

316
ไม่สงสัยเลยครับว่าทำไมภาพออกมาแจ่ม ขนาดนี้ ด้วยประสิทธิภาพของ NIKON D300 + เทคนิคการถ่ายภาพที่ไม่ธรรมดา บอกได้คำเดียวครับว่า "เยี่ยม"  :016: :015:


ขอบคุณสำหรับภาพสวย ๆ ครับ

317
กราบนมัสการครับ  :054:

ขอบพระคุณสำหรับบรรยากาศครับ

มีโดนแอบถ่ายด้วยหรอครับ สุดยอดเลย


ขอบคุณเช่นกัน คับ สำหรับ การเข้ามาชมภาพและเรื่องราว

เฉียดไปแค่นิดเดียว โดยถ่ายภาพออกทีวี อย่างไม่ทันตั้งตัว และไม่ได้รู้ตัวเลยครับ เรียกได้ว่าเป็นดาจำเป็นไปเลยครับ :069: :069: :069:

318
สาธุ สาธุ สาธุ [shake]อนุโมทามิ[/shake][/size]


 :054: :054: :054:

319
ขอบคุณสำหรับภาพถ่ายสวยๆ มุมมองที่ต่างจากที่ผมเคยไปมา และคำบรรยายสถานที่ต่างๆ ขอบคุณอีกทีครับ 04;
ขอบคุณครับ

โดยส่วนตัวรอบนี้ถ่ายถาพไม่ค่อยสวยก็เลยจับมารวม ๆ กันแล้วเน้นเล่าเรื่องราวการเดินทางเอาครับ



ต้องขอขอบคุณภาพถ่ายทุกๆภาพครับ
เหมือนกับได้ไปเองเลย
 :054:  :054:  :054:
ขอบคุณครับ

สำหรับทริปนี้เน้นเล่าเรื่องราวอย่างเดียวครับ เพราะภาพที่ถ่ายออกมาไม่ค่อยสวยครับผม

320
ขนาดถ่ายกับกล้องโทรศัพท์ ยังสวยขนาดนี้  ภาพสวยและใสกิ๊ง เลยครับ :016: :015: :053:

321
   ภาพแต่ละสถานที่สวยงามครับ คิดถึงพระราชวังบางปะอิน สมัยก่อนเดินกัน เดี๋ยวนี้มีรถกลอฟบริการ เดินทางรถไฟบรรยากาศดีกว่ารถบัสมากเลยครับ ขอบพระคุณครับ ที่นำภาพสถานที่ต่างๆมาให้ชมครับ
สถานที่สวยงามครับ เสียดายเวลาน้อยไปหน่อยเพราะต้องรีบไปขึ้นรถไฟต่อ ทำให้เก็บภาพบรรยากาศได้แค่เล็กน้อยครับ


ขอบคุณครับ
 :054: :054: :054: :054: :054:
ขอบคุณด้วยเหมือนกันครับ

322
อ้างถึง

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานสมุทรสงคราม
 กำหนดจัดงานเทศกาลกินปลาทูและของดีเมืองแม่กลอง ครั้งที่ 13 ขึ้นในวันที่ 10-19 ธันวาคม 2553 ณ บริเวณหน้าศาลากลาง
จังหวัดสมุทรสงคราม และในบริเวณสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติเทศบาลเมือง


นางสาวอังคณา พุ่มผกา ผู้อำนวยการสำนักงาน ททท. สำนักงานสมุทรสงคราม (สมุทรสงคราม นครปฐม สมุทรสาคร) เปิดเผยว่า การจัดงานในปีนี้คณะกรรมการจัดงานกำหนดชื่อตอนว่า “อาหารของผู้มีบุญ” โดยมีแนวคิดว่าความอุดมสมบูรณ์ของปลาทูรวมถึงสัตว์ทะเลชนิดอื่นๆ กำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติ อนาคตข้างหน้าอาจจะหารับประทานยากขึ้นหรือมีราคาแพงขึ้น ดังนั้น งานในปีนี้มีการจำหน่ายเมนูอาหารที่ทำจากปลาทูหลากหลาย ปรุงรสโดยร้านอาหารชื่อดังภายในจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งผู้มีบุญเท่านั้นที่จะได้รับประทาน นอกจากนี้ยังจัดให้มีลานวิถีชุมชนคนแม่กลอง ภายในประกอบด้วยลานชุมชนคนประมง นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสโป๊ะปลาทูจำลอง นิทรรศการปลาทูและปลาทูตัวเป็นๆ ลานชุมชนคนยี่สาร ลานแกลลอรี่ ลานสุขภาพ ลานคนดี ลานศิลปะและประติมากรรม ลานดนตรียามเย็น ลานสาระในสวน ลานแม่กลองออนทัวร์ โดยจะแนะนำสถานที่มา แม่กลองแล้วต้องไป สถานที่มีเวลาก็น่าไป และร้านอาหารที่มาแม่กลองแล้วต้องชิม ลานปลาทูคะนอง นำเสนอเรื่องราวความเป็นมาของทีมฟุตบอลปลาทูคะนอง และถ่ายรูปร่วมกับนักเตะคนโปรด และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับวงจรชีวิตของปลาทูอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น ททท.สำนักงานสมุทรสงคราม จึงจัดทำคู่มือท่องเที่ยวเส้นทางสายปลาทูแม่กลองขึ้น เพื่อเผยแพร่ให้กับนักท่องเที่ยวที่เข้าร่วมงานอีกด้วย นอกจากนี้ผู้ที่ซื้อแพ็คเกจทัวร์(จากบริษัทนำเที่ยวที่ร่วมโครงการ) เข้ามาร่วมงานจะได้รับเสื้อเส้นทางสายปลาทูแม่กลองฟรี ด่วน!! ของมีจำนวนจำกัด



ผู้ที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่หอการค้าจังหวัดสมุทรสงคราม โทร. 0 3471 8154 , 0 3471 8164 ททท.สำนักงานสมุทรสงคราม โทร. 0 3475 2847-8 E-mail : tatsmsk@tat.or.th หรือ Call Center 1672 เบอร์เดียว เที่ยวทั่วไทย

ขออนุญาติและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล :
โค๊ด: [Select]
http://www.liveinbangkok.com/forum/index.php?topic=11783.0


ขอบคุณมากสำหรับข่าวคราวดี ๆ ที่นำมาฝากกัน

และ ภาพสวย ๆ งาม ๆ ที่นำมาฝากกัน

จากข้อมูลของ ททท.สำนักงานสมุทรสงคราม  กล่าวไว้ว่า  “ปลาทูเป็นอาหารของผู้มีบุญ”

323
สุดท้ายขอสรุปการเดินทางของเด็กเรือเจ้าแม่จามเทวี ระหว่างวันที่ 1-5 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สุราษฎร์ธานี - พระนครศรีอยุธยา

1. วัดใหญ่ชัยมงคล ๔๐/๓ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐

2. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยุธยา เลขที่ 79 หมู่ที่ 1 หลักกิโลเมตรที่ 55 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ 13170

3. วัดพนัญเชิง เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหารแบบมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ตอนใต้ของเกาะเมือง ทางราชการใช้ชื่อว่าตำบลคลองสวนพลู (หรือตำบลกะมัง) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4. วัดพระราม อยู่นอกเขตพระราชวังไปทางด้านทิศตะวันออก ตรงข้ามกับวิหารพระมงคลบพิตร

5. วัดไก่ ตั้งอยู่เลขที่ ๑ บ้านแจ้ง หมู่ที่ ๓ ตำบลหันสัง อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

6. วัดไชโยวรวิหาร เป็นพระอารามหลวง ชั้นโท มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลไชโย อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14140

7. วัดขุนอินทประมูล เป็นพระอารามราษฎร์ ชั้นสามัญ ตั้งอยู่ หมู่ ๓ ตำบลบางพลับ อำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง

8. วัดม่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำบลหัวสะพาน อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดอ่างทอง ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 8 กิโลเมตร

9. วัดพระศรีสรรเพชญ์ ตั้งอยู่ที่ ถ.ศรีสรรเพชญ อยู่ด้านทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

10. วิหารพระมงคลบพิตร ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์

11. พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทางด้านทิศตะวันออกตรงข้ามกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์

12. วัดไชยวัฒนาราม ตั้งอยู่ที่ ต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งก็ตั้งอยู่ริม แม่น้ำเจ้าพระยา ทางฝั่งตะวันตกของเกาะเมือง

13. พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร

กับการเดินทางในครับนี้ พอสรุปได้ดังนี้ 10 วัด 1 พระราชวัง 1 มหาวิทยาลัย และ 1 พระบรมราชานุสาวรีย์

สุดท้ายก็ขอขอบคุณทุกท่านที่แวะเวียนเข้ามาชมภาพแห่ง ความทรงจำที่ครั้งหนึ่งข้าพเจ้าได้ไปแสวงหาบันทึกและนำมาตีแผ่ให้ทุก ๆ ท่านได้รับชมกัน ถ้าหากว่ามีส่วนหนึ่งส่วนใดยังบกพร่องหรือผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

และถ้าหากว่ามีข้อบกพร่องประการใดก็ ชี้แนะได้อย่าง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติในโอกาสต่อไปนะครับ

325
งานเลี้ยงย่อมมีการเลิกรา ณ บัดนี้ การเดินทางของข้าพเจ้าก็เช่นกัน ได้มาถึงวาระสุดท้ายต้องกลับมารับภาระ หน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบกันต่อไป

ชุดนี้เป็นการเดินทาง จากสถานีรถไฟกรุงเทพ  ปลายทาง สถานีรถไปสุราษฎร์ธานี


326
เดินทางจากสถานีรถไฟบางปะอิน ปลายทางสถานีรถไฟกรุงเทพ เมื่อมาถึงปลายทางก็เจอกับนิทรรศการ รถไฟพระที่นั่งพอดี แต่คนเยอะมาก การเข้าไปบันทึกภาพทำได้อย่างลำบาก ก็ได้มาแค่นี้ครับ


327
ถึงเวลาต้องอำลา เมืองพระนครศรีอยุธยา ด้วยการโดยสารรถไฟเข้ากรุงเทพ ณ สถานีรถไฟบางปะอิน


328
พระราชวังบางปะอิน ต่ออีกชุด


ก่อนเดินกลับโดนโยมที่ยืนเป็นแถวแซวเรื่องกล้องว่า "กล้องถ่ายรูปของพวกหนูรวมกันยังสู้กล้องของพระอาจารย์ไม่ได้เลยนะค่ะเนี่ย"

330
หลังจากนั้นก็เข้าสู่การเดินทางไปยังพระราชวังกันบ้าง รู้สึกว่าเที่ยวแต่วัดอย่างเดียว เดี๋ยวจะขาดอรรถรส ในการชม

อ้างถึง
พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง

เมื่อครั้งเสียกรุงแก่พม่าครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งเมื่อสุนทรภู่ ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการ พระพุทธบาทสระบุรี ได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับ รับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ

ในปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชน และนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพ


332
หลังจากนั้นก็แวะฉันภัตตาหารเพลกัน ต่อจากนั้นก็หาบันทึกภาพ ที่วัดไชวัฒนาราม กันต่อทริปวัดล้วน ๆ

อ้างถึง
วัดไชยวัฒนาราม หรือ วัดชัยวัฒนาราม เป็นวัดที่อยู่นอกเกาะเมืองอยุธยา แต่ก็มีความสำคัญมากวัดหนึ่งในพระนครศรีอยุธยา

วัดไชยวัฒนาราม ได้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2173 โดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นบนที่ที่เป็นบ้านเดิมของพระองค์เพื่ออุทิศพระราชกุ
ศลถวายพระราชมารดา แต่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าวัดนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือนครละแวกโดยจำลองแบบมาจากปราสาทนครวัด


333
ในระแวกเดียวกันนี้ยังมี วัดมงคลบพิตร ให้บันทึกภาพอีกที่

อ้างถึง
วิหารพระมงคลบพิตร ตั้งอยู่ทางด้านใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ พระมงคลบพิตร เป็นพระพุทธรูปบุสัมฤทธิ์องค์ใหญ่องค์หนึ่งในประเทศไทย เดิมอยู่ทาง ทิศตะวันออกนอกพระราชวัง สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดฯ ให้ย้ายมา ไว้ทางด้านตะวันตก ที่ซึ่งประดิษฐานอยู่ในปัจจุบันและโปรดฯ ให้ก่อมณฑปสวมไว้

ครั้นถึงแผ่นดิน ของสมเด็จพระเจ้าเสือ ยอดมณฑปเกิดไฟไหม้เพราะอสนีบาต ทำให้ส่วนบนขององค์พระมงคลบพิตรเสียหายจึงโปรดให้ก่อสร้างใหม่ แปลงเป็นพระวิหารแทน เมื่อเสียกรุงครั้งที่ 2 วิหารพระมงคลบพิตร ได้ถูกไฟไหม้ พระวิหารและองค์พระพุทธรูปได้รับการปฏิสังขรณ์ใหม่ ฝีมือ ไม่งดงามอ่อนช้อยเหมือนเก่า บริเวณข้างวิหารพระมงคลบพิตรทางด้านทิศตะวันออก เดิมเป็น สนามหลวง ใช้เป็นที่สำหรับสร้างพระเมรุพระบรมศพของพระมหากษัตริย และเจ้านายเช่นเดียวกับ ท้องสนามหลวงของกรุงเทพฯ


334
ในระแวกเดียวกันก็มีสถานที่อีกแห่งคือ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)

อ้างถึง
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2511-2513 เพื่อระลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา ณ ตำบลหนองโสน ใน พ.ศ. 1893 ประกอบด้วย 1. พระพุทธรูปพระเจ้าอู่ทอง ประทับนืนถือพระแสง ผินพระพักตร์ไปทางทิศใต้ สู่วัดพระราม ซึ่งเป็นที่บรรจุอัฐิของพระองค์ ตั้งอยู่บริเวญที่เป็นท้องสนามหลวงเดิม คือ หน้าวิหารพระมงคลบพิตร 2. อยุธยามหาปราสาท เป็นที่สถิตพระดวงวิญญานของสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง และอดีตบูรณกษัตริย์ 6 พระองค์ ทำเป็นรูปปราสาท 3 ยอด ภายในมีพระบรมรูปของสมเด็จพระจ้าอู่ทอง



335
เช้าวันที่ 4 ธันวาคม อากาศดี เริ่มแรกกันที่วัดพระศรีสรรเพชญ์ วันนี้ได้บันทึกภาพแล้ว ไม่เหมือนวันแรกที่มา เจอม็อบ ช่างภาพสื่อมวลชล ทำเอามือสมัครเล่นอย่างผมต้องถอยแต่วันนี้มาถึงไม่เจอขบวนสื่อมวลชน ก็เลยได้บันทึกภาพ ณ วัดพระศรีสรรเพชญ์


อ้างถึง
วัดพระศรีสรรเพชญ์ สร้างขึ้นในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ ซึ่งมีความสำคัญที่สุด ในพระบรมมหาราชวัง แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ หากแต่เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ของพระมหากษัตริย์เท่านั้น นับเป็นต้นแบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เนื้อความในพระราชพงศาวดารฯ ระบุว่า

วัดพระศรีสรรเพชญ์ สร้างเมื่อใด?... สมเด็จพระบรมไตรโลกนารถ โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายพระราชวังขึ้นไปทางเหนือจนจดแม่น้ำลพบุรี แล้วยกที่เดิมเพื่อสร้างเป็น พุทธาวาสในเขตพระราชวัง ดังได้กล่าวมาบ้างแล้ว ในปี พ.ศ. 2035 รัชสมัยของ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดีย์องค์ตะวันออก เพื่อบรรจุพระอัฐิของพระราชบิดา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2042 พระองค์ก็ทรงให้สร้างพระเจดีย์องค์ต่อมา ซึ่งเป็นพระเจดีย์องค์กลาง เพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 พระบรมเชษฐาธิราช สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป ยืนสูง 8 วา (ประมาณ 16 เมตร)หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ

เมื่อถึงรัชกาล สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่4 (พระหน่อพุทธางกูร) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ขึ้นอีก 1 องค์ เรียงต่อมาทางด้านทิศตะวันตก เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระรามาธิบดีที่2 ระหว่างเจดีย์ประธาน 3 องค์นั้น มีฆณฑปคั่นอยู่ เข้าใจว่าสร้างขึ้นในชั้นหลัง คงในราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีร่องรอยการปฏิสังขรณ์อย่างน้อย 1 ครั้ง คงในราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

วิหารหลวงสร้างในปี พ.ศ.2042 อยู่ด้านหน้าของสถูปองค์ตะวันออก ปีต่อมา สร้างพระพุทธรูปยืนหุ้มทองขนาดใหญ่ ประดิษฐานไว้ภายในวิหารหลวงนั้น พระราชทานนามว่า “พระศรีสรรเพชญ์” เล่ากันว่าในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งสุดท้าย พม่าได้เผาลอกทองคำไปหมด และองค์พระพังยับเยิน

ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรม พระองค์โปรดเกล้าฯให้สร้าง พระที่นั่งจอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ๆ กำแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์ บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์ ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหลวงแห่งนี้เป็นครั้งแรก

ล่วงมาในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญชิ้นส่วนเหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า “เจดีย์สรรเพชญดาญาณิ” รัชกาลที่ 1 จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายมาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และ บรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้น ไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้น แล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า เจดีย์สรรเพชญดาญาณ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วิหารทิศ

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ดำเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่องทองคำมากมาย และในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้มีการบูรณะวัดนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน

ความโดดเด่นของ วัดพระศรีสรรเพชญ์ คือเจดีย์ทรงกลม เรียงติดกัน 3 องค์ ด้านทิศตะวันออกต่อกับพระเจดีย์องค์แรก เป็นวิหารสำคัญที่สุด เพราะบริเวณด้านท้ายซึ่งเรียกว่า “ท้ายจระนำ” เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระมหากษัตริย์องค์ต่างๆในวิหาร


336
เมื่อเสร็จภารกิจจากการบันทึกภาพพระนอนที่วัดขุนอินทประมูลเรียบร้อยแล้ว ต่อจากนั้นก็เดินทางต่อไปยังวัดม่วง เพื่อบันทึกภาพพระองค์ใหญ่ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

อ้างถึง
วัดม่วงตั้ง อยู่ที่ตำบลอินทร์บุรี ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา หากมาจากถนนสายเอเชีย ห่างจากตัวตลาดอินทร์บุรีมีทางเลี้ยวซ้ายไปประมาณ 2.5 กิโลเมตร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นประมาณปี พ.ศ. 2365 เดิมนั้นมีต้นมะม่วงอยู่มากจึงเรียกว่า "วัดม่วง”  ภายในวัดมีวิหารเก่าแก่เป็นอาคารปูนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีมุขยื่นออกมา ที่หน้าบันประดับด้วยภาชนะเครื่องถ้วยต่าง ๆ ในวิหารมีพระพุทธรูปปางมารวิชัยเป็นพระประธานที่พุทธลักษณะงดงาม ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชีรูปฐานสิงห์ มีฐานบัวขนาดใหญ่รอ งรับ เพดานประดับด้วยลายเขียนรูปดาว มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนด้วยสีฝุ่น ฝีมือช่างพื้นบ้านสันนิษฐานว่าเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 และมีเรื่องราวพุทธประวัติของพระพุทธเจ้า ตลอดจนแสดงภาพชีวิตความเป็นอยู่วัฒนธรรมของสังคมโบราณในระดับต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี


เมื่อไปถึงเจอ สิ่งประดิษฐ์ ต่าง ๆ ภายในวัด มากมายเหลือหลายทำให้เกิดอาการ ไม่รู้จะบันทึกภาพอะไรดี มึน ๆ และ งง ๆ

แต่ที่สังเกตุเห็นอยุ่อย่างหนึ่งคือวัดในระแวกนี้เขาแข่งขันกันเรื่องห้องน้ำเป็นเพิเศษ ห้องน้ำของวัดม่วงนี้ก็เช่นเดียวกันไม่น้อยหน้าใคร ๆ แน่นอน

สิ้นสุดการท่องเที่ยวบันทึกภาพประจำวัน 3 ธันวาคม 2553 เพียงเท่านี้ เวลาที่เหลือของวันนี้คือกลับไปพักผ่อนเอาแรงเพื่อเตรียมความพร้อมลุยกันในวันต่อไปอีก

337
เมื่อเก็บบันทึกภาพวัดไชโยวรวิหารพอสมควรแล้วก็เดินทางต่อไปยังวัด ขุนอินทประมูล  ซึ่งยังอยู่ในจังหวัดอ่างทอง

อ้างถึง
วัดขุนอินทประมูล อยู่ในเขตตำบลอินทประมูล วัดนี้เป็นวัดโบราณ สร้างขึ้นในสมัยกรุงสุโขทัย พิจารณาจากซากอิฐแนวเขตเดิมคะเนว่าเป็นวัดขนาดใหญ่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่ใหญ่และยาวที่สุดในประเทศไทยมีความยาวถึง 50 เมตร (25 วา) เดิมประดิษฐานอยู่ในวิหารแต่ถูกไฟไหม้ปรักหักพังไปเหลือแต่องค์พระตากแดดตากฝนมานานนับเป็นร้อยๆ ปี องค์พระพุทธรูปมีลักษณะและขนาดใกล้เคียงกับพระนอนจักรสีห์ จังหวัดสิงห์บุรี สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยเดียวกัน องค์พระนอนมีพุทธลักษณะที่งดงาม พระพักตร์ยิ้มละไม สงบเยือกเย็นน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก พระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์ได้เคยเสด็จมาสักการะบูชา อาทิเช่น พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เสด็จมาเมื่อ พ.ศ. 2296 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯในปีพ.ศ. 2421 และ 2451 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันเสด็จฯ มาถวายผ้าพระกฐินต้นในปี พ.ศ.2516 และเสด็จมานมัสการอีกครั้งในปีพ.ศ. 2518 พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศต่างนิยมมานมัสการเป็นเนืองนิจ นอกจากนี้ภายในบริเวณวัดขุนอินทประมูลยังมีโบราณสถานวิหารหลวงพ่อขาว ซึ่งเหลือเพียงฐาน ผนังบางส่วนและองค์พระพุทธรูป ด้านหน้าพระนอนมีศาลรูปปั้นขุนอินทประมูล ซึ่งตามประวัติเล่ากันว่า เป็นนายอากรผู้สร้างพระพุทธไสยาสน์ โดยยักยอกเอาเงินของหลวงมาสร้างเพื่อเป็นปูชนียสถาน ครั้นพระมหากษัตริย์ทรงทราบรับสั่งถามว่าเอาเงินที่ไหนมาสร้าง ขุนอินทประมูลไม่ยอมบอกความจริงเพราะกลัวส่วนกุศลจะตกไปถึงองค์พระมหากษัตริย์จึงถูกเฆี่ยนจนตาย วัดนี้จึงได้ชื่อว่า วัดขุนอินทประมูล


ชอบพระนอน แต่ไปถึงตอนตะวันตรงหัวพอดี ไม่รู้จะถ่ายยังไงดี(มือใหม่หัดกดชัตเตอร์) ก็เลยออกมาได้แค่นี้ครับ

338
เมื่อมาถึงที่ก็เดิน ไปหาบันทึกภาพไปเรื่อย ๆ


ชอบอาคารที่จอดรถของวัดไชโยวรวิหาร มากครับ ขนาดรถทัวร์ 2 ชั้น จอดยังมองดูเล้วรถทัวร์คันเล็กนิดเดียวเอง

339
หลังจากนั้นก็และฉันภัตตาหารเพล ก่อนจะออกเดินทางไปยัง สถานที่ต่อไป คือ วัดไชโยวรวิหาร ซึ่งเป็นการเดินทางข้ามจังหวัด ไปยังจังหวัดอ่างทอง เรียบร้อยแล้ว

อ้างถึง
วัดไชโยวรวิหาร เป็นพระอารามหลวง ชั้นโท มหานิกาย ตั้งอยู่ที่ หมู่ 3 ตำบลไชโย อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง รหัสไปรษณีย์ 14140 เป็นสถานที่ที่ประดิษฐาน พระมหาพุทธพิมพ์ พระพุทธรูปปางสมาธิ ที่สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)


หลวงพ่อโต องค์ใหญ่

341
เช้าวันนี้(3 ธันวาคม 2553) ตัวข้าพเจ้าได้แยกทางกับคณะนิสิต มจร.ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี เพื่อไปบันทึกภาพโบราณสถานต่าง ๆ ภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ จังหวัดอ่างทอง โดยสถานที่แรกที่เดินทางไปบันทึกภาพอยู่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานที่แห่งนั้นคือ วัดไก่

อ้างถึง
วัดไก่ที่ตั้ง ม.3 ต.หันสัง อ. บางปหัน จ. พระนครศรีอยุธยา โทร. 0-3538-9061
วัดไก่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบางปะหัน ริมถนนสายเอเชียระหว่างอยุธยาอ่างทอง เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้นราวปี 2325 สภาพแวดล้อมของวัดเดิมเป็นป่าใหญ่เป็นที่อาศัยของสัตว์น้อยใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันมีฝูงลิงป่า อาศัยอยู่ในเขตวัดเป็นจำนวนมาก จนเป็นที่รู้จักกัน ลิงที่วัดไก่นี้มีนิสัยน่ารัก ไม่ดุร้าย เป็นมิตรกับผู้มาเยือน สิ่งศักดิ์สิทธิ์และสิริมงคลที่สำคัญภายในคือ “หลวงพ่อใหญ่” พรประธานภายในโบสถ์ที่ชาวบ้านมักจะเล่าลือกันถึงเรื่องการขอพรนมัสการให้พ้นจากโรคภัย รูปปั้นขนาดใหญ่พระสังกัจจายน์หรือทีชาวบ้านเรียกกันว่า “ตาแปะ” ก็เชื่อถือกันในเรื่องการเสี่ยงทาย โชคลาภซึ่งผู้ประสบความสำเร็จจากการเสี่ยงโชค ก็มักจะกลับมาที่วัดเพี่อทำบุญและซื้ออาหารมาเลี้ยงลิงป่าภายในวัดเสมอ ๆ นัยยะว่ายังมีรูปั้นเทพยดาตามจักรราศีและปีเกิด นรกภูมิและการลงโทษผู้ทำความชั่ว


342
หลังจากไม่มีแสงให้เก็บแล้วก็กลับโรงแรมที่พัก เพื่อพักผ่อนเอาแรงไว้ต่อสู้กับแสงของวันใหม่ต่อไป

โรงแรมที่พักในครั้งนี้ชื่อว่า โรงแรมและศูนย์ประชุม อู่ทอง อินน์ เอ็กเซ็กคิวทีฟ (U-Thong Inn Hotel)



ณ สถานที่แห่งนี้ เป็นสถานที่สำหรับฉันภัตตาหารเช้า / รับปทานอาหารเช้า ของคณะนิสิต มจร.ห้องเรียนสุราษฎร์ธานีในวันนี้(3 ธันวาคม 2553)

343
ต่อจากนั้นก็เวลาแดดร่มลมตก ก็ตกลงกันว่าจะไปแถว ๆ วัดพระศรีสรรเพชญ์ (ณ สถานที่แห่งนี้เมื่อไปแล้วช่างภาพสื่อมวลชนเป็นจำนวนมาก) ก็เลยไม่ได้ภาพมาเนื่องจาก เข้าไปไม่ได้ แถมยังโดนบันทึกภาพออกทีวีอีกต่างหาก

[youtube=425,350]UKUl_9sAMkM&autoplay=1&loop=1[/youtube]
หลักฐานการออกทีวี


ก็เลยต้องหลีกตัวเองออกไปเก็บภาพที่วัดพระราม แทน


หลังจากสถานที่แห่งนี้ก็กลับโรงแรมที่พักเพราะ มืดค่ำพอดีไม่มีแสงให้บันทึกภาพ

344
หลังจากแยกทางกับคณะนิสิต มจร.สุราษฎร์ธานี แล้ว สถานที่แห่งแรกที่ก็คือ วัดพนัญเชิงวรวิหาร 

อ้างถึง
วัดพนัญเชิง เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้างก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามหนังสือพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้าสายน้ำผึ้งเป็นผู้สร้าง และพระราชทานนามว่า วัดเจ้าพระนางเชิง และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์กล่าวไว้ว่า ได้สถาปนาพระพุทธรูปพุทธเจ้าพแนงเชิง เมื่อปี พ.ศ. 1867 ซึ่งก่อนพระเจ้าอู่ทองจะสถาปนากรุงศรีอยุธยาถึง 26 ปี


345
หลังจากเข้าไปได้ไม่นาน ด้วยความที่ต้องเดินทางไกล และไม่ได้พักทำให้เกิดอาการง่วง และก็พากันเดินออกจากห้องประชุมกันที่ละคน สองคน รวมทั้งตัวข้าพเจ้าด้วยถือโอกาสพาตัวเองหลีกออกไปจากสถานที่แห่งนั้นเพื่อไปหาที่บันทึกภาพกันครับ



346
มาดูบรรยากาศตอนเข้าไปในอาคารที่ประชุมกันครับ ว่ามันลำบากยากเย็นแค่ไหน กว่าจะเอาชีวิตเข้าไปได้


347
ตอนแรก ที่ไปถึงเหมือนถูกลอยแพ เลยครับ ก็ไม่รู้จะหันไปทางไหน และต้องทำอะไรบ้าง ต้องติดต่อใคร เหล่านี้คือคำถามของคณะนิสิตที่ไปรถคันเดียวกับกระผม หันไปหันมาก็เลยตัดสินใจเดินตรงๆ ยังอาคารที่ประชุมอย่าง งง ๆ


348
เวลาตะวันเที่ยวตรงคณะนิสิต ทั้งหมดก็ต้องเดินทางจากโรงแรมที่พัก เพื่อไปร่วมเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติและถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม  ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย พระนครศรีอยุธยา

อ้างถึง
เมื่อวันที่  ๒ ธันวาคม ๒๕๕๓   พระธรรมโกศาจารย์  อธิการบดี มจร   พระครูปลัดสุวัฒนวชิรคุณ (ไสว โชติโก) รักษาการผู้อำนวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์   พร้อมคณะผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ คณาจารย์ พระนิสิต และพระสอนศีลธรรม ทั้งส่วนกลาง วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ห้องเรียน และหน่วยวิทยบริหาร จากทั่วประเทศ จำนวนกว่า ๑๕,๐๐๐ รูป/คน ร่วมเจริญพระพุทธมนต์เฉลิมพระเกียรติและถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม  ๒๕๕๓   
 
ในพิธีดังกล่าว ได้ทำพิธีบวงสรวงและถวายราชสักการะพระบรมสาทิสลักษณ์ ล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ และพิธีถวายสักการะเบิกเนตรหลวงพ่อพระพุทธโสธร ณ อาคาร มวก. ๔๘ พรรษา พร้อมทั้งทำพิธีแห่พระเกศหลวงพ่อพระพุทธโสธร รอบบริเวณมหาวิทยาลัย
 
ช่วงบ่าย พระธรรมโกศาจารย์ อธิการบดี แสดงปาฐกถาพิเศษ และทำพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายเป็นพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติอีกด้วย
 



แหล่งข่าว : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์



349
วัดใหญ่ชัยมงคล


เนื่องจากเก็บกดอยู่นาน พอได้ลงไปปลดปล่อยก็กดมาเยอะหน่อย ชุดนี้ก็เป็นการสิ้นสุด ภารกิจที่วัดใหญ่ชัยมงคล แล้วครับ ภารกิจต่อไปก็คือการฉันภัตตาหารเพล / รับปทานอาหารกลางวันกันครับ

353
การเดินทางไปในครั้งนี้เป็นการศึกษาดูงาน ทัศนศึกษา พร้อมด้วยไปร่วมพิธีเปิดมหาวิทยามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อาคาร ม.ว.ก. 48 พรรษา ณ อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในครั้งเดียวกัน จึงมีภาพบรรยากาศที่หลากหลาย มาให้ได้ชมกันครับ หวังว่าคงไม่เป็นการรบกวนสายตากันนะครับ


หลังจาก ฉันภัตตาหารเช้า/รับปทานอาหารเช้า เสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้รับฟังประกาศว่าเป้าหมายต่อไปของชาวคณะ คือ วัดใหญ่ชัยมงคล

อ้างถึง
วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อวัดป่าแก้ว หรือ วัดเจ้าไท ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด นอกจากนี้แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้วย

โดยมีกำหนดการให้แวะถ่ายภาพได้ 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นต้องฉันภัตตาหารเพล / รับปทานอาหารกลางวัน ที่ร้านข้าวหน้าวัดใหญ่ชัยมงคล


354
นาน ๆ มาที ขอโพสรูปที่นอกเหนือไปจากหัวข้อหน่อยนะครับ
อ้างถึง
เมื่อวันวันที่ (3 ธันวาคม 53)  เวลา 15.05 น. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ไปทรงเปิดมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และทรงเปิดอาคาร ม.ว.ก. 48 พรรษา ณ อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ในงานนี้ทำให้ตัวข้าพเจ้าได้ร่วมเดินทางไปกับคณะของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี วัดพัฒนาราม ระหว่างวันที่ 1-4 ธันวาคม 2553 ที่ผ่านมา และก็ได้เก็บภาพบรรยากาศระหว่างการเดินทางมาเล็กๆ น้อยๆ จึงขออนุญาติพื้นที่แห่งนี้ในการ นำรูปภาพมาลงไว้ ณ ที่นี้ด้วย  หวังว่าสมาชิกทุกท่านคงให้โอกาสกระผมแสดงผลงานภาพถ่ายในครั้งนี้ด้วยนะครับ


กำหนดการเดินทางคือนัดพร้อมกัน ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี วัดพัฒนาราม(พระอารามหลวง) เวลา 18.00 น. และกำหนดการที่รถจะออกเดินทางเวลาประมาณ 18.30 น. โดยมีรถทัวร์(จำนวน 3 คัน) เป็นยานพาหนะ สำหรับการเดินทางในครั้งนี้ (จองรถทัวร์ 2 ชั้นไม่ว่างตกลงกันว่าเอาชั้นครึ่ง แต่พอเอาเข้าจริง ไหงเป็นชั้นเดียวอ่ะ)


355
รุ่นลูกหลาน อาจจะเจอแบบนี้!



























ขออนุญาติและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : Hunsa.com

357
กราบคาราวะ ท่านอาจารย์ครับ  :054: :054: :054:

สวยงาม เข้มขลัง มีมนต์เสน่ห์ น่าหลงไหล

359
ขอบคุณครับที่นำภาพมาให้ชม :001:
เสียดายจังที่ไม่ได้ไปอยู่ใกล้ๆแท้ๆ :065:
ดันติดงานไปไม่ได้
สาธุ ครับ ร่วมอนุโมทนาบุญด้วยกัน
ว่าแต่อยู่ใกล้ ๆ หมายถึงอยู่จังหวัดสุราษฎร์ธานี หรือครับ


อนุโมทนาสาธุ มา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ :054: :054: :054:
สาธุ อนุโมทามิ ด้วยเหมือนกันครับ ร่วมกันแบ่งปันในผลบุญ ผลกุศลที่ผู้อื่นทำดี

อ้างถึง
ปัตตานุโมทนามัย... อนุโมทนากับคนที่ทำบุญ เราก็ได้บุญด้วย
โดย หลวงพ่อฤาษีลิงดำ(พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยาน)
ผู้ถาม มีคนฝากให้มาถามหลวงพ่อว่า พ่อแม่ไม่ค่อยทำบุญแต่เป็นคนดี คนซื่อ ถ้าบุตรหลานทำให้แล้วจะใส่ชื่อเขาด้วย อยากทราบว่า ท่านจะได้หรือไม่ครับ

หลวงพ่อ เขาโมทนาด้วย หรือเปล่า ถ้าลูกไปบอกว่า "พ่อ(หรือแม่) ฉันทำบุญให้แล้ว ถ้าท่านยินดีด้วย ท่านได้แน่นอน ถ้าบอก กูไม่รู้โว้ย ด่าตะเพิด อันนี้ไม่ได้แน่


ผู้ถาม อย่างเวลาเลิกพระกรรมฐานแล้ว ก็มีคนไปถวายสังฆทานกับหลวงพ่อ แต่หนูไม่มีของก็ยกมืออนุโมทนาด้วย อย่างนี้จะมีอานิสงส์ไหมคะ...?

หลวงพ่อ อานิสงส์ที่จะพึงได้ก็คือ ปัตตานุโมทนามัย เป็นผลกำไรจากการเจริญพระกรรมฐานไม่ต้องลงทุน ถ้าตั้งใจจริงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เจ้าของได้ 100 เปอร์เซ็นต์ เราได้ครั้งละ 90 ผ่านไป 10 คนเราได้ 900 มากกว่าเจ้าของ เอ้า! เยอะจริงๆ มันทำบารมีให้เต็มเร็ว เร็วมาก

การโมทนา เขาแปลว่า ยินดีด้วย ต้องยินดีด้วยความจริงใจนะ สักแต่ว่า สาธุ มันไม่ได้อะไร คำว่า "สาธุ" ไม่จำเป็นต้องออกเสียง ไม่จำเป็นต้องยกมือไหว้ก็ได้ เอาใจยินดีใช้ได้เลย
และการแสดงความยินดีมันก็คือ มุทิตา เป็นตัวหนึ่งใน พรหมวิหาร 4 นี่บุญตัวใหญ่ ที่พระพุทธเจ้าบอกว่า "จิตเต อสังกิลิฏเฐ สุคติ ปาฏิกังขา" ถ้าก่อนตายจิตผ่องใส ก็ไปสู่สุคติ หมายถึง สวรรค์ ก็ได้ พรหมก็ได้ นิพพานก็ได้ สุดแล้วแต่กำลังใจเรา

และการโมทนานี่ทำให้ชุ่มชื่นใจ ใช่ไหม....เขาทำดีเรายินดีด้วย ยินดีกับความดีของเขา ไม่ช้าเราก็ดีตามเขา เพราะเราเห็นเขาดี เราก็ชอบดีใช่ไหม... แต่อย่าไปชอบดีเฉยๆ นะ ต้องทำดีด้วยนะ ทำบุญด้วยตนเองบ้าง


ผู้ถาม หลวงพ่อครับ ปัตตานุโมทนามัย กับ ไวยาวัจจมัย นี่เหมือนกันไหมครับ

หลวงพ่อ ไวยาวัจจมัย เขาแปลว่า ขวนขวายในกิจการงาน เช่น เขาส่งสตางค์มาทำบุญ เราช่วยส่งต่อ หรือพวกที่ช่วยขนสังฆทานนี่ ก็พลอยได้บุญไปด้วย มีอานิสงส์ต่ำกว่าบวรเณรนิดหนึ่ง ไม่เบานะ
แต่ ปัตตานุโมทนามัย ไม่ต้องลงทุน แต่พวกถือมานี่ ยังต้องออกแรงนะ พวกโมทนานี่ไม่ต้องออกแรงเลย แต่อย่าลืมนะเอาแค่โมทนาอย่างเดียวไม่ดีนะ ต้องอาศัยคนต้นตลอด ถ้าไม่ได้อาศัยคนต้นจริงๆ จะสำเร็จมรรคผลไม่ได้ เช่นเดียวกับ พระนางพิมพา ต้องอาศัยพระพุทธเจ้าตลอด

360
ปิดท้ายสำหรับงานทอดกฐินปี 2553 ของวัดทุ่งเซียดด้วยภาพ เก็บตก ช่างภาพ(อิสระ)

หมดแล้วครับ กับภาพบรรยากาศ งานทอดกฐินสามัคคีวัดทุ่งเซียด ปี 2553

ไว้พบกันใหม่ปีหน้า 2554 นะครับ

ขอขอบคุณทุกท่านที่ แวะเข้ามาดู เข้ามาชมกัน

ผิดพลาดประการในแนะนำได้นะครับ(งานนี้อากาศไม่เปิดให้เลยครับมืดฟ้ามัวดินฝนก็ตก ถ่ายยากส์ มาก ๆ ครับผม)

มือใหม่หัดถ่ายอย่างผมก็ได้ออกมาประมาณนี้ครับ ยังต้องฝึกอีกมากคัรบ

362
ต่อกันด้วยบรรยากาศการแข่งเรือในวันทอดกฐินวัดทุ่งเซียด ปี 2553 เล็ก ๆ น้อย ๆ
คนดูพร้อม

เรือพร้อม
ออก ออก ออก ออกมาแล้ววววววววววววววววว

อ้าว  ๆ ๆ ๆ ๆ ทำไมเค้าพายไปคนละทางกันล่ะเนี่ย

363
เจ้าภาพองค์กฐินได้พิมพ์หนังสือแจกงานทอดกฐิน ปี 2553

369
อ้างถึง
ผ้าป่าหางกฐิน เป็นผ้าป่าที่จัดขึ้นพร้อม ๆ กับการทอดกฐิน หรือผ้าป่าแถมกฐิน

373
ด้วยแรงศรัทธา ถึงจะร้อนเหงือไหลก็ขอให้ได้ถวายผ้า

375
เจ้าภาพองค์กฐิน ประจำปี 2553 ทอด ณ วัดทุ่งเซียด

377
อ้างถึง
ผ้าป่าหางกฐิน ได้แก่ ผ้าป่าชนิดที่เจ้าภาพจัดให้มีขึ้น ต่อจากการทอดกฐิน คือเมื่อทำพิธีทอดกฐินเสร็จแล้ว ก็ให้มีการทอดผ้าป่าด้วยเลย จึงเรียกว่าผ้าป่าหางกฐิน หรือ ผ้าป่าแถมกฐิน

388
กฐิน ชาวต่างประเทศ  มากับฝนก็เลยต้องใช้ผ้าคลุม

389
ก่อนทำพิธีสมโภชองค์กฐินได้มีฝนตกลงมา

392
ผู้อยู่เบื้องหลังอีกส่วนหนึ่งของงานทอดกฐินครั้งนี้


393
สิ่งที่ลืมไม่ได้และเป็นหัวใจสำคัญเมื่อมีงานภายในวัด
ก็คือแผนกจัดเลี้ยงหรือแผนกอาหารซึ่งผู้ที่อยู่เบื้องหลัง
สิ่งเหล่านี้ก็คือบรรดาแม่ครัว

394
พุ่มนี้เป็นพุ่มผ้าป่าหางกฐิน
อ้างถึง
ผ้าป่าหางกฐิน ได้แก่ ผ้าป่าชนิดที่เจ้าภาพจัดให้มีขึ้น ต่อจากการทอดกฐิน คือเมื่อทำพิธีทอดกฐินเสร็จแล้ว ก็ให้มีการทอดผ้าป่าด้วยเลย จึงเรียกว่าผ้าป่าหางกฐิน หรือ ผ้าป่าแถมกฐิน

396
ภายในงานวันทอดกฐินของวัดทุ่งเซียดได้จัดให้มีการแข่งขันถ่อเรือชิงถ้วยรางวัลด้วย เนื่องจากปีนี้วัดทุ่งเซียดเกิดภาวะน้ำท่วม

397
ตอนเช้าก่อนเริ่มงานด่้วยอากาศที่ไม่เป็นใจ การถ่ายภาพสำหรับวันนี้ค่อนข้างยากและลำบากมากเพราะแสงไม่เปิดเลยครับ


398
เมื่อวันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2553 ตรงกับวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 12 งานทอดกฐิน ณ วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ 1 ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นกฐินสามัคคี

ซึ่งมีภาพบรรยากาศในวันทอดกฐินดังต่อไปนี้


399
ศิษย์ขอกราบคาราวะท่านอาจารย์ครับ

พญานาคสวยงาม คับ และที่สำคัญตรงตามความเชื่อของคนพื้นถิ่น

สวยงามและมีคุณค่าทางจิตใจของชาวบ้านและผู้คนทั่วไป

 :054: :054: :054:

400
ปิดท้ายด้วย อีกหนึ่งชนิดที่ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาน้ำท่วมในครั้งนี้





ปล. ถ้าต้องการดูภาพสถานการณ์ล่าสุดเกี่ยวกับน้ำท่วมวัดทุ่งเซียด ดูที่ สถานการณ์น้ำท่วมวัดทุ่งเซียด อัพเดทล่าสุด ถ้าเอามาลงที่นี่มากจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับโหลดหน้าเว็บ(ช้า)

404
ศาลาแห่งนี้ เดิมทีจะใช้เป็นสถานที่สำหรับงานทอดกฐิน ในวันที่ 20 พ.ย 2553 แต่ด้วยสภาพปัจจุบันน่าจะเป็นอุปสรรคพอสมควรสำหรับการทอดกฐินในปีนี้






406
" น้ำขึ้นให้รีบตัก " เอาวิกฤตให้เป็นโอกาศ
วันงานทอดกฐินก็จัดการแข่งเรือเสียเลย
เอาเรือที่เขาแจกมานั้นแหละมาแข่งกัน
เอาแบบเฮฮา " หัวใบ้ ท้ายบอด "
หรือจัด " มวยทะเล "
ไปเสียเลย
 (คุ้นเคยกันดีครับ จึงกล้าแหย่เล่น)

กราบคาราวะ ท่านอาจารย์ คับ

เค้ามีโครงการอยุ่หลายวันแล้วคับแต่ผมไม่กล้าเอามาลง

เป็นภาพนี้ ครับ

เค้าน่าจะจัดที่หน้่าอุโบสถ อ่ะครับ น่าจะฮาดีเหมือนกันคับเพราะถ้าทักษะไม่ดี มีตกน้ำได้ง่าย ๆ เหมือนกันคับท่านอาจารย์

407
รายงานสถานการณ์ น้ำท่วมวัดทุ่งเซียด เพิ่มเติม ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลาตะวันบ่าย  นำภาพความเคลื่อนไหวเพิ่มเติม








408
กฎ กติกา มรรยาท ๖. ห้ามตั้งกระทู้ที่เกี่ยวข้องกับการเมืองโดยเด็ดขาด



ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ พอดีมุมมองของผมซึ่งเป็นคนในพื้นที่ มองถึงเรื่องความเดือนร้อนของชาวบ้านและวัดที่อยู่ในพื้นที่ตรงนี้ ไม่ได้คิดถึงว่าเป็นเรื่องของการเมือง เพราะตอนนี้วัด และ บ้านเรือนของชาวบ้านในระแวกนี้ได้รับความเดือนร้อนกันทั่วหน้า และผมเองก็ชอบถ่ายภาพ เห็นถึงความเดือนร้อนของชาวบ้านผมก็อยากนำมาตีแผ่ให้สังคมได้รับรู้ การที่คนในสังคมได้รับความเดือนร้อนและ ได้รับการช่วยเหลือถ้าเป็นหลักธรรมะ บอกว่าเป็นสิ่งที่ดีงามทั้งผู้ให้และผู้รับ

แต่ถ้าท่านมองว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ ยังยืนยันว่ามันเป็นเรื่องของการเมืองก็ ยืนยันมาอีกทีแล้วกันนะครับ

ผมยินดีพิจารณาตัว ลบกระทู้นี้ให้ท่านเองครับ

แต่ผมอยากนำเสนอถึงความเดือนร้อนของวัด และ โรงเรียนที่ผมได้ถ่ายรูปเอาไว้เพิ่มเติมซักเล็กน้อย แต่ถ้าท่านยังคิดว่าเป็นประเด็นทางการเมืองผมก็ยินดีลบกระทู้ให้แต่โดยดี คับผม














หรือถ้าหากท่านมองแล้วไม่สบายใจเห็นว่ามันเป็นการเมือง ก็ขอให้มองกระทู้นี้เป็นงานศิลปะ ได้หรือไม่คับ มองในเรื่องของความสวยงามอย่างเดียว จะได้ไม่ต้องคิดมาก คับ

409
สำหรับวันนี้รายงานผลงานความคืบหน้า สถานการณ์น้ำท่วม วัดทุ่งเซียดไว้เพียงแค่นี้ก่อนนะครับ ถ้ามีโอกาส หรือมุมใหม่ ๆ จะถ่ายภาพมารายงานความคืบหน้าอีกนะครับ

ปล.งานทอดกฐินวันที่ 20 นี้ สงสัยต้องแห่พุ่มผ้ากฐินทางเรือแน่ ๆ อิอิ

 

 

 


410
บริเวณ รอบ ๆ ป่าไม่ไทรสถานที่ปฏิบัติธรรม ของวัดทุ่งเซียด

 

 

 

 


411
สถานที่ปฏิบัติธรรมและเข้าปริวาสกรรมในปีก่อน ๆ มีสภาพอย่างที่เห็น

 

 

 


412
สภาพศาลาที่ทางวัดได้สูญเสียอธิปไตยให้ไปกับน้ำในครั้งนี้ มีสภาพอย่างที่เห็น

 

 


413
สถานการณ์ล่าสุด(วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553)  น้ำยังคงท่วมวัดทุ่งเซียด ยังคงเพิ่มระดับขึ้นเรื่อย ๆ ไม่มีทีท่าว่าจะลด ฝนก็ยังคงตกอยู่ทุกวันเช่นเดิม ตอนนี้ทางวัดได้สูญเสียศาลาให้กับน้ำไปแล้ว 1 หลัง และยังไม่มีมาตรการอะไรตอบโต้น้ำแต่อย่างใด

ตอนนี้พระในวัดส่วนหนึ่งต้องใช้เรือเป็นพาหนะในการสัญจรไปมา ระหว่างกัน(ขออนุโมทนาบุญกับบริษัทโค้ก หาดทิพย์ จำกัด ที่ได้อนุเคราะห์เรือมาจำนวนหลายลำด้วยกัน) ทำให้พระมีพาหนะสำหรับสัญจรไปมาหาสู่ระหว่างกัน

 

 

 


414
สำหรับภาพส่งท้ายไม่รู้ว่าจะเกี่ยวข้องกับน้ำท่วมหรือไม่แต่ผู้ถ่ายเห็นแล้วชอบ มัน เป็นเความเชื่อที่แตกต่างระหว่างลางบอกเหตุและศรัทธา


415
สืื่อมวลชนก็ยังต้องใช้การเดินทางแบบนี้เหมือนกัน

 

 


416
ใคร ๆ ก็ต้องเดินทางกันไปแบบนี้ (ครั้งหนึ่งในชีวิต) สำหรับคนที่ยังไม่เคยได้สัมผัส

 


417
ยานพาหนะ สำหรับพี่น้องประชาชนที่จะมารับถุงยังชีพในครั้งนี้ แม่กระทั่งตัวผู้ถ่ายเองก็ต้องใช้ยานพาหนะ ชนิดนี้เหมือนกันในการเดินทางเข้ายังจุดเกิดเหตุในครั้งนี้

หรือแม่กระทั่งท่าน รัฐมนตรี ก็ยังต้องใช้พาหนะชนิดนี้ เพื่อเข้าไปยังที่เกิดเหตุเช่นกัน

 

 


418
บรรยากาศตอนที่ท่านชินวรณ์ บุญเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและคณะ แจกของให้กับประชาชน

ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย เนื่องจากเพศและภาวะ ของผู้ถ่ายไม่อาจเข้าไปถ่ายใกล้ ๆ ได้(ทนแรงเสียดทานไม่ไหว)

จึงมีแต่ภาพในมุมไกล ๆ เท่านั้นคับ


 


419
มาดูทางด้านพี่น้องประชาชนที่ได้รับความเดือนร้อนกันบ้างครับ มีทั้งชาวพุทธและมุสลิม ที่ได้รับความเดือนร้อนจากภัยธรรมชาติในครั้งนี้

 

 



 

 


420
ถุงยังชีพ ที่ท่านชินวรณ์ บุญเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและคณะ นำมามอบให้เพื่อเป็นการซับน้ำตาผู้ประสบภัยธรรมชาติในครั้งนี้

 

 

 

 


421
เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลาตะวันบ่าย

ท่านชินวรณ์  บุญเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและคณะ ร่วมกันซับน้ำตา ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ด้วยการมอบถุงยังชีพให้ประชาชน

ณ โรงเรียนบ้านไทรงาม หมู่ที่ 7 ต.ท่าข้าม อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

 

 

 

 

 


422
ขอให้ไม่เสียหายมากนะครับ ไม่ทราบท่วมขังมานานแค่ไหนแล้ว

ตอนนี้ระดับน้ำยังคงเพิ่มขึ้นทุกเวลา คับ และฝนก็ยังคงตกต่อเนื่อง ไม่มีทีท่าว่าจะหยุด

ขังมาเป็นอาทิตย์แล้วคับ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จะนำภาพมาลงเพิ่มเติมให้ต่อไปคับ


ขอให้สถาันะการณ์ น้ำลดโดยเร็ว
ขอคุณคับ แต่สำหรับตอนนี้ ระดับน้ำกำลังเพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆคับ ทุกวัน



ตอบช้าไปหน่อยขอโทษด้วย น้ำคงลดลงบ้างนะครับ
ยังไม่มีทีท่าว่าจะลดเลยคับ ยังคงเพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ ทุกวัน คับผม

423
9
ถ่ายภาพสวยครับคมชัดมาก :053: :053: :053:
ตอนนี้น้ำได้ท่วมเพิ่งระดับสูงขึ้นเรื่อย ๆ แล้วครับ

ถ้า ฝนหยุด จะเก็บภาพเพิ่มเติมมา ฝาก อีกคับผม

ขอบคุณครับ สำหรับการชมเชย แต่ผมเองก็เพิ่งหัดถ่ายรูปเหมือนกันครับ มือใหม่หัดถ่ายครับผม

424
สถานการณ์ น้ำท่วม ณ วัดทุ่งเซียด วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
 


ปิดท้ายด้วย วัตถุ ที่เขาไม่เอาแล้ว เอามาทิ้งที่วัดกัน ก็ยังโดนน้ำท่วมกะเขาเหมือนกัน

เป็นสัจจธรรม ว่าสิ่งที่ มนุษย์(คน) ไม่ต้องการหรือไม่เอาแล้ว ชอบเอามาทิ้งที่วัดกัน

ยกตัวอย่างเช่น หมา แมว ศาลพระภูมิเก่า พระแตก พระหัก ต้นไม้ไม่สมประกอบ เป็นต้น  สมดั่งคำโบราณว่า ตัดหางปล่อยวัด

425
สถานการณ์ น้ำท่วม ณ วัดทุ่งเซียด วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
 


426
สถานการณ์ น้ำท่วม ณ วัดทุ่งเซียด วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553



ตอนนี้กำลังลุ้นอยู่ว่า น้ำจะท่วม หรือไม่


427
สถานการณ์ น้ำท่วม ณ วัดทุ่งเซียด วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553




เมื่อก่อนเคยอยู่บนดิน

เมื่อก่อนเคยอยู่บนดิน

เมื่อก่อนเคยอยู่บนดิน


428
สถานการณ์ น้ำท่วม ณ วัดทุ่งเซียด วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ผู้ที่ได้รับความเดือนร้อน เป็นลำดับต้น ๆ เมื่อเกิดน้ำท่วม วัด









429
เช้าวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ก่อนไปเรียนเห็นฝนไม่ตกก็เลยจับกล้อง มาถ่าย(ป้องกันเชื่อราเกาะเลนส์)
สมดังเจตนารมย์ อุโบสถกลางน้ำ(เป็นไปดังเจตนารมย์ที่ตั้งเอาไว้)

สมดังเจตนารมย์ อุโบสถกลางน้ำ(เป็นไปดังเจตนารมย์ที่ตั้งเอาไว้)

สมดังเจตนารมย์ อุโบสถกลางน้ำ(เป็นไปดังเจตนารมย์ที่ตั้งเอาไว้)

430
ขอขอบคุณภาพถ่ายสวย ๆ ครับ

สมราคา Canon EOS 450D ไม่ธรรมดาเลยคับ

ทั้งกล้องและ รูป สุดยอด ครับ

สวยงาม ครบทั้งงานบุญ งานแข่ง :016: :015:

431
งานบวชนับว่าเป็นธรรมเนียมประเพณีของชาวไทย ที่นับถือพระพุทธศาสนา เพราะผู้ที่มั่นคงในพระพุทธศาสนา มีจุดมุ่งหมายให้บุตรของตนได้เป็นศาสนทายาท สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไป อีกประการหนึ่งคือ ต้องการปลูกฝังบุตรของตนได้เรียนรู้หลักของพระศาสนา เพื่อจะได้นำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตการครองเรือนต่อไป
            กุลบุตรผู้จะบวชต้องมีอายุครบยี่สิบปีบริบูรณ์ เมื่ออายุครบบวชและสมัครใจจะบวชแล้ว พ่อแม่จะนำบุตรของตนไปหาเจ้าอาวาสวัดใกล้บ้าน หรือวัดที่ตนเป็นทายกทายิกาแห่งวัดนั้นอยู่ เพื่อมอบตัวให้ท่านบวชให้ การไปมอบตัวควรจัดดอกไม้ ธูปเทียน ไปถวายในการมอบตัวด้วย
           พระอุปัชฌาย์จะสอบถามพ่อแม่ หรือผู้ที่ขอบวชเอง ถึงวันเดือนปีเกิด และคุณสมบัติของผู้ที่จะขอบวช ถ้าเห็นว่ามีคุณลักษณะครบถ้วน ไม่เป็นคนต้องห้ามในการที่จะให้บรรพชาอุปสมบท ท่านก็จะรับเข้าบวช โดยมอบใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบท และใบรับรองให้ไปกรอกรายการแล้วถวายท่านเป็นหลักฐาน ก่อนถึงวันบรรพชาอุปสมบทไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน จากนั้นก็นัดหมายให้ผู้ที่จะบวชซึ่งเรียกว่า นาคหรือเจ้านาค มาฝึกซ้อมการปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีบวช และกำหนดวันที่จะทำการบรรพชาอุปสมบท
            เมื่อมอบตัวแล้วต้องจัดเตรียมหาเครื่องบวชคือ บริขาร ๘ ดังมีในบาลี ดังนี้
            ติจีวรญฺจ ปตฺโต จ วาสี สจิ จ พนฺธนํ ปริสฺสาวเนนทฏฺเฐเต ยุตุตโยคสฺส ภิกฺขุโน ได้แก่ ไตรจีวร บาตร พร้อมทั้งถลกบาตร มีด (มีดโกน) พร้อมหินลับมีด เข็มพร้อมทั้งกล่องและด้าย ประคตเอวรวมอยู่กับไตรจีวร และกระบอกกรองน้ำ
            เครื่องใช้อย่างอื่นเป็นส่วนประกอบในการบวช เช่น เสื่อ หมอน มุ้ง ร่ม รองเท้า ถุงย่าม กาน้ำ จาน ช้อน แปรง ยาสีฟัน สบู่ ขันน้ำ เครื่องใช้สำรอง เช่น ผ้าอาบน้ำ สบง ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวสำหรับนาคนุ่งวันบวช อย่างละหนึ่งผืน
            สำหรับไทยทาน ควรจัดไทยทานสำหรับถวายพระอุปัชฌาย์หนึ่งที่ สำหรับถวายพระคู่สวดสองที่ และสำหรับถวายพระอันดับ ๒๒ ที่ โดยมากนิยมนิมนต์พระในพิธีบวช ๒๕ รูป พร้อมทั้งพระอุปัชฌาย์และคู่สวด
            นาคจะต้องเตรียมท่องคำขานนาคให้ได้ การฝึกซ้อมการขานนาคมีสองแบบคือ แบบเก่าและแบบใหม่ แบบเก่าควรปฏิบัติ ดังนี้
            ก่อนจะเข้าไปหาพระสงฆ์ทำพิธีบวช นาคจะนั่งอยู่แถวผนังโบสถ์ ด้านหน้าตรงกับพระประธาน เมื่อได้เวลาพ่อแม่พร้อมญาติ จะมอบผ้าไตรให้นาค โดยหยิบผ้าไตรจากพานแว่นฟ้า หากมีดอกไม้สดหุ้มไตรต้องหยิบมาด้วย นาคจะได้นำไปถวายพร้อมผ้าไตร เพื่อจะนำไปบูชาพระประธาน หากเป็นดอกไม้แห้งควรหยิบถอดออกไปเหลือแต่ผ้าไตรอย่างเดียว พ่อแม่จับผ้าไตรด้วยกันนั่งอยู่หน้านาค ส่วนนาคต้องนั่งคุกเข่ากราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วยื่นแขนออกไปรับไตรจีวร พ่อแม่วางให้บนท่อนแขน แล้วควรหลีกออกไปสองข้าง นาคอุ้มผ้าไตรไปหาพระอุปัชฌาย์ พอใกล้ที่นั่งสงฆ์ต้องทรุดตัวลงนั่งแล้วเดินเข่าเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ ประเคนผ้าไตรให้ท่านแล้ว คอยเอี้ยวตัวมาทางขวามือรับเครื่องสักการะทุกอย่างถวายพระอุปัชฌาย์ แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง พระอุปัชฌาย์จะมอบผ้าไตรให้นาครับแล้วลุกขึ้นยืนก้มตัวพองามเตรียมว่าคำขานนาค ดังนี้
            อุกาส วันฺทามิ ภนฺเต , สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต มยา กตํ ปุญญํ สามินา อนุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปญญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ สาธุ สาธุ อุนุโมทามิ ,
            อุกาส การุญฺญํ กตฺวา ปพฺพชฺชํ เทถ เม ภนฺเต (นั่งคุกเข่าลงว่า) อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ
            ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ
            ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ
            สพฺพทุกฺขนิสฺสรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณตฺ ถาย , อิมํ กาสาวํ คเหตฺวา ปพฺพาเชถ มํ ภนฺเต , อนุกมฺปํ อุปาทาย (ว่าสามหน)
            จบแล้วน้อมถวายผ้าไตรให้กับพระอุปัชฌาย์ และกล่าวคำขอผ้าต่อไปว่า
            สพฺพทุกฺขนิสสรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณตฺถาย , เอตํ กาสาวํ ทตฺวา ปพฺพา เชถ มํ ภนฺเต อมุกมฺปํ อุปาทาย (ว่าสามหน)
            จบแล้วกราบสามครั้ง ลงนั่งพับเพียบประนมมือฟังโอวาทจากพระอุปัชฌาย์ต่อไป จนกระทั่งสอนกัมมัฏฐาน นาคคอยว่าตามว่า
                    เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ (เป็นอนุโลม)
                    ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา (เป็นปฏิโลม)
            เมื่อสอนกัมมัฏฐานเสร็จแล้ว จะมอบผ้าไตรให้ไปห่ม ถึงตอนนี้ท่านจะบอกให้นาคลุกขึ้นนั่งคุกเข่า หากสวมเสื้อคลุมไว้ หรือสวมเครื่องประดับต่าง ๆ หรือผ้าสไบเฉียงไว้ ท่านจะให้ถอดออก แล้วท่านจะคล้องอังสะให้ นาคต้องก้มศีรษะเตรียมให้ท่านสวม เสร็จแล้วคอยรับผ้าไตรที่ท่านจะมอบให้ไปห่มอุ้มไว้ แล้วถอยออกมาให้พ้นพระสงฆ์ก่อนจึงลุกขึ้นเดินตามพระสงฆ์ที่ท่านให้ไปช่วยห่อผ้าให้
            เมื่อห่มผ้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์จะพามานั่งหน้าพระคู่สวดที่จะให้ศีล นั่งคุกเข่าข้างหน้าปูผ้ากราบไว้แล้วรับเครื่องสักการะประเคนท่าน กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วลุกขึ้นยืน ก้มตัวลงเล็กน้อย กล่าวคำขอศีล ดังนี้
            อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา ภตํ ปญฺญํ สามินา อมุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปุญฺญํ มยฺหํ  ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทานิ ,
            อุกาส การุญฺญํ กตฺวา ติสรเณน สห สีลานิ เทถ เม ภนฺเต
            แล้วนั่งคุกเข่าว่า  อหํ ภนฺเต สรณสีลํ ยาจามิ
                                     ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต   สรณสีลํ    ยาจามิ
                                     ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต   สรณสีลัง   ยาจามิ
            นโม ตสฺส ภควาโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (สามหน) นาคว่าตามแล้วพระอาจารย์จะบอกว่า ยมหํ วทามิ ตํ วเทหิ  นาครับว่า อาม ภนฺเต แล้วพระอาจารย์จะให้ไตรสรณาคมน์ นาคว่าตามท่านทีละวรรค ดังนี้

                   พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ         ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ        สงฺฆงฺ   สรณํ คจฺฉามิ
                   ทุติยมฺปิ   พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ         ทุติยมฺปิ   ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ        ทุติยมฺป   สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ
                   ตติยมฺปิ    พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ         ตติยมฺปิ   ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ        ตติยมฺปิ   สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ
            จบแล้วพระอาจารย์ถามว่า ติสรณคมนํ นิฏฐิตํ นาครับว่า อาม ภนฺเต แล้วพระอาจารย์จะให้ศีลสิบต่อไปทีละสิกขาบท นาครับว่าตามทีละสิกขาบท ดังนี้

                   ปาณาติปาตา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   อทินฺนา ทานา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   อพฺรหมฺ จริยา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   มุสาวาทา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   วิกาลโภชนา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺนา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   มาลาคนฺธวิเลปน ธารณ มณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   อุจ จา สยนมหา สยนา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
                   ชาตรูป รชต ปฏิคฺคหณา        เวรมณีสิกฺขาปทํ       สมาทิยามิ
              อิมานิ ทส สิกฺขาปทานิ สมาทิยามิ นาคว่าสามครั้ง แล้วกราบหนึ่งครั้ง จากนั้นลุกขึ้นยืนว่า อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต , สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา กตํ ปุญฺญํ สามินา อนุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปุญฺญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทามิ แล้วนั่งลงกราบสามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีบรรพชาเป็นสามเณร
 
            ต่อจากนั้นนาคจะคอยรับประเคนบาตร พร้อมทั้งดอกบัวธูปเทียนหนึ่งกำ ซึ่งเตรียมใส่ไว้คู่กับบาตรจากพ่อแม่ เมื่อจะรับประเคนต้องปูผ้ากราบข้างหน้า พ่อแม่จะวางแล้วนาคอุ้มบาตรเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ เพื่อขอนิสสัยไปถวายบาตรแล้วคอยรับพานเทียนแพถวายพระอุปัชฌาย์ด้วย แล้วกราบสามครั้ง ลุกขึ้นยืนว่า
            อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา กตํ มยฺหํ ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทามิ , อุกาส การุญฺญํ กตฺวา นิสสยํ เทถ เม ภนฺเต ,

                 นั่งลงว่า       อหํ ภนฺเต       นิสฺสยํ  ยาจามิ
                 ทุติยมฺปิ       อหํ ภนฺเต       นิสฺสยํ  ยาจามิ
                 ตติยมฺปิ        อหํ ภนฺเต       นิสฺสยํ  ยาจามิ
                 พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า  ปฏิรูปํ       นาครับว่า       สาธุ  ภนฺเต
                 พระอุปัชฌายฺกล่าวว่า  โอปายิกํ       นาครับว่า       สาธุ  ภนฺเต
                 พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า   ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ       นาครับว่า       สาธุ  ภนฺเต
            นาคว่าต่อ อชฺชตคฺเคทานิ เถโร มยฺหํ ภาโร อหมฺปิ เถรสฺส ภาโร ว่าสามครั้ง แล้วกราบลงหนึ่งครั้ง จากนั้นนั่งลงฟังพระอุปัชฌาย์ให้โอวาทต่อไป จนกระทั่งท่านตั้งชื่อฉายาว่าอะไร และบอกชื่อของท่าน เมื่อคู่สวดสอบถามว่า
                กินฺนาโมสิ    แปลว่า ท่านชื่ออะไร
            ให้นาคตอบว่า อหํ ภนฺเต ติกฺขวีโร นาม ชื่อนาค
            นาคอยรับตอบท่านว่า อาม ภนฺเต
            เมื่อคู่สวดถามว่า โก นาม เต อุปชฺฌาโย แปลว่า อุปัชฌาย์ของท่านชื่อ อะไร
            ให้นาคตอบว่า อุปัชฌาย์โย เม ภนฺเต อายสฺมา ปภสฺสโร นาม ชื่ออุปัชฌาย์
            นาคคอยรับตอบท่านว่า อาม ภนฺเต
            ต่อจากนั้น พระอุปัชฌาย์จะบอกชื่อบริขารให้นาค นาคต้องคอยรับว่า อาม ภนฺเต ทุกครั้ง เช่น

                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยนฺเต ปตฺโต       นาครับว่า      อาม   ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ สงฺฆาฏิ       นาครับว่า      อาม   ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ อุตฺตราสงฺโค       นาครับว่า      อาม   ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ อนฺตรวสโก       นาครับว่า      อาม   ภนฺเต
            แล้วพระอุปัชฌาย์จะบอกต่อไปว่า คจฺฉ  อมมฺหิ โอกาเส ติฏฐาหิ นาคไม่ต้องกล่าวอะไร แต่ให้ค่อย ๆ ถอยออกมา พอพ้นพระสงฆ์จึงลุกขึ้นเดินไปยังผนังโบสถ์ด้านหน้า อ้อมเสื่อที่ปูไว้ให้พระคู่สวดยืน ยืนประนมมือ หันหน้ามาทางพระสงฆ์
            ต่อจากนั้นพระสงฆ์จะเริ่มสวดกรรมวาจาญัตติ ชาวบ้านที่มาร่วมในงานต้องนั่งอยู่กับที่ ห่างจากพระสงฆ์สองศอกขึ้นไป
            เมื่อพระคู่สวด สวดสมุมติ  เป็นผู้สอบถามแล้ว จะออกไปยืนสวดบนเสื่อที่ปูไว้หน้านาคจนถึงคำว่า

                   กุฏฺฐํ        นาครับว่า       นตฺถิ  ภนฺเต   
                   คณฺโฑ        นาครับว่า       นตฺถิ  ภนฺเต   
                   กิลา        นาครับว่า       นตฺถิ  ภนฺเต   
                   โสโส        นาครับว่า       นตฺถิ  ภนฺเต   
                   อปมาโร        นาครับว่า       นตฺถิ  ภนฺเต   
                   มนุสฺโสสิ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   ปุริโสสิ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   ภุชิสฺโสสิ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   อนโณสิ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   นสิ ราชภโฏ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   อนุญฺญาโตสิ   มาตาปิตุหิ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   ปริปุณณนฺเต    ปตฺตาจีวรํ        นาครับว่า       อาม  ภนฺเต   
                   กินนาโมสิ        นาครับว่า       อหํ  ภนฺเต  (ติกฺขวีโร)  นาม      ภนฺเต
            จากนั้น พระคู่สวดจะสั่งให้นาครออยู่ตรงนี้ก่อน ท่านจะกลับไปที่ประชุมสงฆ์ เมื่อท่านกลับไปสวดกรรมวาจาในที่ประชุมสงฆ์จนถึงคำว่า อาคจฺฉาหิ ท่านจะกวักมือเรียก นาคจะต้องเข้าไปโดยอ้อมเสื่อที่ปูไว้ พอไปใกล้พระสงฆ์แล้วนั่งคุกเข่าลง กราบเบญจางคประดิษฐ์ พระสงฆ์ซ้ายขวาสามครั้ง พระสงฆ์นั่งอันดับ จะคอยจับบาตรให้ แล้วนั่งคุกเข่า กล่าวคำขออุปสมบท ดังนี้

                   สงฺฆมฺ ภนฺเต       อุปสมฺปทํ ยาจามิ       อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ       อนุกมฺปํ อุปาทาย
                   ทุติยมฺปิ  ภนฺเต สงฺฆํ       อุปสมฺปทํ ยาจามิ       อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ       อนุกมฺปํ อุปาทาย
                   ตติยมฺปิ  ภนฺเต สงฺฆํ       อุปสมฺปทํ ยาจามิ       อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ       อนุกมฺปํ อุปาทาย
            แล้วกราบลงหนึ่งครั้ง นั่งอยู่กับที่
            พระอุปัชฌาย์ท่านจะกล่าวคำเผดียงสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์รับว่า สาธุ พร้อมกันแล้ว นาคจึงเดินเข้าไปนั่งในท่ามกลางสงฆ์ใกล้พระอาจารย์คู่สวด พระสงฆ์นั่งอันดับสองรูปริมสุด จะนั่งปิดหลังนาคทันที นาคนั่งคุกเข่าคอยฟังพระอาจารย์คู่สวด จะสวดสอบถามต่อไปเช่นเดียวกับตอนสวดสอบถามครั้งแรก นาคก็ตอบเช่นที่ตอบเมื่อตอนสวดสอบถามครั้งแรก จนถึงตอนสุดท้ายถามว่า โก นาม เต อุปชฺฌาโย นาคตอบ เช่น พระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปภสฺสโร ก็ตอบว่า อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อยสฺมา ปภสฺสโร นาม
            ต่อจากนี้ พระอาจารย์คู่สวดจะสวดกรรมวาจา เป็นญัตติ จตุตถกรรมวาจา นาคต้องนั่งอยู่อย่างนั้นเรื่อยไป พระอาจารย์จะสวดกรรมวาจาจนจบถึงสี่ครั้งจึงเป็นการเสร็จพิธี เมื่อเสร็จแล้ว พระใหม่ควรถอดถลกบาตรที่คล้องออกวางไว้ข้าง ๆ กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบ ประนมมือคอยฟังพระอุปัชฌาย์ จะบอกสอนอนุศาสน์แปด เป็นภาษาไทยก่อน แล้วจะบอกเป็นภาษาบาลีว่า
            อนุญฺญาสิ โข ภควา อุปสมฺปาเทตฺวา จตฺตาโร นิสฺสาย จตฺตาริ จ , อกรณียานิ อาวิกฺ ขิตุ ํ
                (๑)  ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ สงฺฆภนฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ ฯ
                (๒)  ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ เขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ ฯ
                (๓)  รุกฺขมูลเสนาสนํ  นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ  คูหา ฯ
                (๔)  ปูติมุตฺต เภชสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชํ ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิตํ ฯ
                (๑)  อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา  เมถุโน ธมฺโม น ปฏิเสวิตพฺโพ อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายปิ โย ภิกฺขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย เสยฺยถาปิ นาม ปริโส สีสจฺฉินฺโน อภพฺโพ เตนิ สรีรพนฺธเน ชีวิตุ ํ เอวเมว ภิกขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวิตวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาชีวํ อกรณียํ ฯ
                (๒)  อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อทินฺนํ เถยยสงฺฆาตํ น อาทาตพฺพํ อนฺตมโส ติณสลากํ อุปาทาย โย ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺ ขาตํ อาทิยติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺย ปตฺติโย เสยฺถาปิ นาม ปณฺฑุปลาโส พนฺธนา ปมุตฺโต อภพฺโพ หริตตตาย เอวเมว ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺฆาตํ อาทิยิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺปุตฺตีโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียํ ฯ
                (๓)  อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา สญฺจิจจ ปาโณ น โวโรเปตพฺโพ อนฺตมโส กุนฺถกิปิลฺลิกํ อุปาทาย โย ภิกขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคคหํ ชีวิตา โวโรเปติ อนฺตมโส ตพฺภปาตนํ อุปาทาย อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย เสยฺยถาปิ นาม ปุถุสิลา ทฺวิธา  ภินฺนา อปฺปฏิสนฺธิกา โหติ เอวเมว ภิกฺขุ สญฺจิจจ มนุสฺสวิคคหํ ชีวิตา โวโรเปตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียํ ฯ
                (๔)  อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อุตฺตริมนุสฺสธมฺโม น อุลฺลปิตพฺโพ อนฺตมโส สุญญาคาเร อภิรมามติ โย ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อุลลปติ ฌานํ วา วิโมกฺขํ วา สมาธิ วา สมาปตฺตึ วา มคฺคํ วา ผลํ วา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย เสยฺยถาปิ นาม ตาโล มตฺถกจฺฉินฺโน อภพฺโพ ปุนวิรุฬฺหิยา เอวเมว ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสสธมฺมํ อุลฺลปิตวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียนฺติ
            อเนกปริยาเยน โข ปน เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ยาวเทว ตสฺส มทนิมมทนสฺส ปิปาสวินยสฺส อาลยสมุคฺ ฆาตสฺส วฏฺฏปจฺเฉทสฺส ตณฺหกฺขยสฺส วิราคสฺส นิโรธสฺส นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย
            ตตฺถ สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานิสํโส สมาธิปริภาวิตา ปญฺญา มหปฺผลา โหติ มหานิสฺสํสา ปญฺญาปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ เสยฺยถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวิชฺชาสวา
            ตสฺมาติห เต อิมสฺมึ ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเย สกฺกจฺจํ อธิสีลสิกฺขา สิกฺขิตพฺพา อธิจิตฺตสิกฺขา สิกขิตพฺพา อธิปญฺญาสิกฺขา สิกฺขิตพฺพา ตตฺถ อปฺปมาเทน สมฺปาเทตพฺพํ ฯ
            พระใหม่รับว่า อาม ภนฺเต แล้วลุกขึ้นนั่งคุกเข่ากราบสามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีในการบวช


ลำดับพิธีบรรพชาอุปสมบท
            การลาญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ที่เคารพนับถือ  เป็นเรื่องที่ผู้จะบวชพึงทำ วิธีปฏิบัติคือ ให้เตรียมกระทงดอกไม้มีกรวยครอบ พร้อมธูปเทียนแพวางลงบนพาน เมื่อไปถึงผู้ที่จะรับการลา ก็เข้าไปกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เปิดกรวยกระทงดอกไม้แล้วยกขึ้นประคองต่อหน้าผู้รับการลาพร้อมกับกล่าวคำขอขมาว่า
            "กรรมใดที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินต่อท่าน ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี  ทั้งต่อหน้า และลับหลัง ทั้งที่รู้และไม่รู้ เพื่อความบริสุทธิ์แห่งเพศพรหมจรรย์ ขอท่านโปรดอโหสิกรรมนั้นแก่ข้าพเจ้าด้วย เทอญ"
            ญาติผู้ใหญ่จะเอื้อมมือมาแตะพาน แล้วกล่าวว่า
            "สาธุ ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้เธอทุกอย่าง และขอให้เธอจงอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขออนุโมทนาต่อท่านที่ได้บวชในพระพุทธศาสนา ทดแทนคุณบิดามารดา และจงเป็นศาสนทายาท สืบต่อพระพุทธศาสนาด้วยดีในเพศพรหมจรรย์ เทอญ"
            จบแล้วนาคจึงเอาพานวางที่พื้น กราบเบญจางคประดิษฐ์อีกสามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบ เมื่อสนทนาพอสมควรแก่เวลาแล้ว บอกลาท่าน ท่านจะมอบพานดอกไม้ เทียนแพคืนให้ เพื่อจะได้นำไปใช้ลาท่านผู้อื่นต่อไป
           การปลงผม  ถ้าในงานบวชนาคนั้นมีพิธีทำขวัญนาคด้วย ก็จะปลงผมก่อนวันบวชหนึ่งวัน แล้วนุ่งขาวห่มขาวเข้าพิธีทำขวัญนาค  ถ้าไม่มีการทำขวัญนาคก็จะปลงผมในวันบวช โดยพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ หรือพระภิกษุที่คุ้นเคยเป็นผู้ขลิบปลายผมให้ก่อนเป็นพิธี ต่อจากนั้นก็ให้ผู้ทีโกนผมเป็นโกนผม หนวด เครา คิ้ว ให้หมดจด อาบน้ำแล้ว นุ่งขาวห่มขาว เตรียมเข้าโบสถ์เพื่อทำพิธีบรรพชาอุปสมบทต่อไป
           การนำนาคเข้าโบสถ์  ตามประเพณีนิยม มักปลงผมนาค และทำขวัญนาคที่บ้านของเจ้านาค วันรุ่งขึ้นจึงมีขบวนแห่ไปยังวัด แล้วแห่นาคไปยังโบสถ์ เวียนโบสถ์สามรอบแบบทักษิณาวรรต พร้อมด้วยเครื่องอัฏฐบริขารที่ใช้ในการบวช และของที่ถวายพระ จนครบแล้วจะให้นาคมาวันทาสีมา ส่วนเครื่องอัฏฐบริขาร และของถวายพระ จะนำไปตั้งในโบสถ์ก่อน การวันทาสีมา นาคจะจุดธูปเทียนที่เสมาหน้าโบสถ์ แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือกล่าวคำวันทาสีมา ดังนี้

           แบบที่หนึ่ง       อิมินา  สกฺกาเร       พทฺธเสมายํ       พุทฺธํ   อภิปูชยามิ
       อิมินา  สกฺกาเร       พทฺธเสมายํ       ธมฺมํ   อภิปูชยามิ
       อิมินา  สกฺกาเร       พทฺธเสมายํ       สงฺฆํ   อภิปูชยามิ
           แล้วกราบปักดอกไม้ ธูปเทียน ณ ที่จัดไว้

           แบบที่สอง       อุกาส  วนฺทามิ ภนฺเต       สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต       มยา กตํ ปญฺญํ สามินา
       อนุโมทิตพฺพํ       สามินา กตํ ปุญญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ       สาธุ สาธุ อนุโมทามิ
           แล้วกราบ ปักดอกไม้ธูปเทียน ณ ที่จัดไว้
           เมื่อวันทาเสมาเสร็จแล้ว นำนาคมาที่หน้าโบสถ์ นาคจะโปรยทาน เสร็จแล้วจึงจูงนาคเข้าโบสถ์ โดยบิดาจูงมือข้างขวา มารดาจูงมือข้างซ้าย พวกญาติคอยจับชายผ้าตามส่งข้างหลัง นาคต้องก้าวข้ามธรณีประตูห้ามเหยียบเป็นอันขาด เมื่อพ้นประตูไปแล้วให้เดินตรงไปที่พระปรธาน ไหว้พระประธานโดยใช้ดอกไม้ธูปเทียนอีกหนึ่งกำนำไปจุดธูปเทียนบูชาพระประธาน ใช้คำบูชาพระเหมือนคำวันทาเสมาข้างต้น แล้วกลับมานั่ง ณ ที่ซึ่งจัดไว้แถวผนังด้านหน้าของโบสถ์
           พิธีบรรพชาอุปสมบท  เมื่อถึงกำหนด พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนาในพิธีบวชมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวดและพระอันดับจะเข้าอุโบสถ นั่งตามแผนผังที่คณะสงฆ์กำหนด พิธีเริ่มโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือญาติผู้ใหญ่เข้ามานั่งข้างหน้านาค เพื่อจะมอบผ้าไตรให้นาคเข้าทำพิธีบวชต่อพระสงฆ์ต่อไป ซึ่งปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีซ้อมขานนาคที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพระอุปัชฌาย์บอก อนุศาสน์เสร็จแล้ว เจ้าภาพ ญาติมิตรถวายของพระอันดับ พระใหม่ถวายพระอาจารย์คู่สวดอีกหนึ่งรูปที่ยังมิได้ถวาย
            ต่อจากนั้นพระอุปัชฌาย์จะบอกให้พระใหม่มานั่งรับประเคนของบริวารบวชที่ด้านหน้า พระใหม่จะออกมานั่งพับเพียบอยู่ท้ายอาสนสงฆ์ ทอดผ้ากราบไว้ข้างหน้า หากผู้ชายประเคนก็รับของด้วยมือ หากเป็นผู้หญิงก็จับผ้ากราบไว้ โยมผู้หญิงจะวางบนผ้ากราบ เมื่อรับของประเคนหมดแล้ว ให้กลับนั่งหันหน้ามาทางพระสงฆ์ เตรียมกรวดน้ำ
           การกรวดน้ำ  เมื่อเสร็จการรับประเคนแล้ว พระใหม่และพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือเจ้าภาพในการบวชครั้งนี้ จะกรวดน้ำโดยใช้เต้ากรวดน้ำคนละที่ เมื่อพระอุปัชฌาย์ซึ่งเป็นประธานสงฆ์ในที่นั้น เริ่มบทอนุโมทนาว่า ยถา วารีวหา ปูร ....พระใหม่และญาติที่เป็นเจ้าภาพก็จะกรวดน้ำพร้อมกัน เมื่อขึ้นบท สพฺพีติโย.... ก็กรวดน้ำหมดเต้าพอดี นั่งพนมมือรับพรจากพระสงฆ์ เสร็จแล้วพระใหม่กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีการบวช หลังจากนั้นพระพี่เลี้ยงจะนำพระใหม่ขึ้นจากโบสถ์ พระใหม่ควรสะพายบาตรด้วยไหล่ขวา มือซ้ายถือพัด ส่วนของอื่นให้ผู้อื่นถือไป พระพี่เลี้ยงจะนำออกทางประตูหน้า

 
คำขอบรรพชาอุปสมบทใหม่ (สำหรับนาคคนเดียว)
                 เอสาหํ ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ , ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ , ธมฺมญฺจ ภิกขุสงฺฆญฺจ , ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ตสฺส ภควโต ธมฺมวินเย , ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปทํ
                ทุติยมฺปิ....
                ตติยมฺปิ...
                อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ , อิมานิ กาสายานิ วตฺถานิ คเหตฺวา ปพฺพาเชถ มํ ภนฺเต อนุกมฺปํ อุปาทาย
                ทุติยมฺปิ....
                ตติยมฺปิ...
           ตจปัญจกัมมัฏฐาน     โดยอนุโลม เกษา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ
                                                 โดยปฏิโลม ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกษา
           คำขอสรณาคมน์และศีล        อหํ ภนฺเต สรณสีลํ ยาจาม
                                             ทุติยมฺปิ.....
                                             ตติยมฺปิ.....
           บทนมัสการ     นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (สามหน)

                              พระอาจารย์กล่าวว่า       ยมฺหํ วทามิ ตํ วเทหิ
                              ผู้บรรพชากล่าวรับว่า       อาม ภนฺเต
                              พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ    สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ
                         ทุติยมฺปิ.....
                         ตติยมฺปิ....

                              พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ    พระอาจารย์ว่า        ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ
                              พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ    ผู้บรรพชารับว่า        อาม ภนฺเต

           ศีลสิบ        ปาณาติ ปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ   
ฯลฯ   
                              พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ    ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ    ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ   
           คำขอนิสสัย    อหํ ภนฺเต นิสฺสยํ ยาจามิ
                         ทุติยมฺปิ .....
                         ตติยมฺปิ.......
                อุปชฺชาโย เม ภนฺเต โหหิ  (ว่าสามหน)

                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า       ปฏิรูปํ
                   ผู้บรรพชากล่าวรับว่า       สาธุ ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า       โอปายิกํ
                   ผู้บรรพชากล่าวรับว่า       สาธุ ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า       ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ
                   ผู้บรรพชากล่าวรับว่า       สาธุ ภนฺเต
                   อชฺชตคฺเคทานิ  เถโร มยฺหํ ภาโร อหมฺปิ เถรสฺส ภาโร (ผู้บรรพชาว่าสามครั้ง)
           คำบอกสมณบริขาร

                   พระอุปัชฌาย์บอกว่า        อยนฺเต ปตฺโต        ผู้บรรพชารับว่า        อาม ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์บอกว่า        อยํ สงฺฆาฏิ        ผู้บรรพชารับว่า        อาม ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์บอกว่า        อยํ อุตตราสงฺโค        ผู้บรรพชารับว่า        อาม ภนฺเต
                   พระอุปัชฌาย์บอกว่า        อยํ อนฺตราวาสโก        ผู้บรรพชารับว่า        อาม ภนฺเต
                   คจฺฉ อมุมฺหิ โอกาเส ติฏฐานิ         
           คำขานนาค

                   พระคู่สวดว่า         กุฏฐํ         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         คณฺโฑ         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         กิลาโส         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         โสโส         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         อปมาโร         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         มนุสโสสิ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         ปุริโสสิ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         ภูชิสฺโสสิ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         อนโณสิ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         นสิ ราชภโฏ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ         นาคขานว่า         อาม  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         ปริปุณณวีสติวสฺโสสิ         นาคขานว่า         อหํ  ภนฺเต (ปญฺญาธโร  นาม)
                   พระคู่สวดว่า         กินฺนาโมสิ         นาคขานว่า         นตฺถิ  ภนฺเต
                   พระคู่สวดว่า         โก นาม เต อุปชฺฌาโย         นาคขานว่า         อุปชฺฌาโย เม ภนฺเตอายสฺมา (ติสฺสเทโว  นาม)
           คำขออุปสมบท
                   สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ , อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ , อนุกมฺปํ อุปาทาย
                            ทุติยมฺปิ......
                            ตติยมฺปิ......


บุพพกิจสำหรับภิกษุใหม่
            กิจเบื้องต้นที่พระบวชใหม่จะต้องกระทำคือการพินทุกัปปะ กับการอธิษฐานเครื่องบริขาร โดยพระพี่เลี้ยงจะแนะนำให้ คือ
           การทำพินทุกัปปะ  เป็นธรรมเนียมของพระภิกษุว่า จะต้องทำเครื่องนุ่งห่ม ของใช้บางอย่างให้ถูกต้องตามพระวินัยเสียก่อนจึงจะนำไปใช้ได้ เป็นหน้าที่พระอุปัชฌาย์จะแนะนำ หรือมอบหมายให้พระรูปหนึ่งเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการทำพินธุกัปปะให้ การทำพินธุกัปปะต้องใช้ดินสอดำหรือสีดำ ทำจุดให้เป็นวงกลมหรือเลขศูนย์เล็ก ๆ โดยใช้ดินสอลากลงไปที่มุมใดมุมหนึ่ง พอเป็นที่สังเกต พร้อมกับเปล่งคำว่า อิมํ พินทุกัปปํ กโรมิ
            เมื่อทำการพินทุกัปปะแล้วต้องทำการอธิษฐานบริขารนั้นด้วย จึงจะใช้ได้ บริขารที่กำหนดให้อธิษฐาน เช่น ไตรจีวร บาตร ผ้าปูนั่ง เป็นต้น ควรแยกอธิษฐานเป็นอย่าง ๆ ไป มีคำอธิษฐาน ดังนี้

                   ผ้าสังฆาฏิ        อธิษฐานว่า        อิมํ สงฺฆาฏึ       อธิษฐานมิ
                   ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร)        อธิษฐานว่า        อิมํ อุตฺตราสงฺตํ       อธิษฐานมิ
                   ผ้าอันตรวาสก (สบง)        อธิษฐานว่า        อิมํ อนฺตรวาสกํ       อธิษฐานมิ
                   บาตร        อธิษฐานว่า        อิมํ ปตฺตํ       อธิษฐานมิ
                   ผ้าปูนั่ง        อธิษฐานว่า        อิมํ นิสีทนํ       อธิษฐานมิ
                   ผ้าปูที่นอน        อธิษฐานว่า        อิมํ ปจฺจถรณํ       อธิษฐานมิ
                   ผ้าอาบน้ำฝน        อธิษฐานว่า        อิมํ วสฺสิกสาฏิกํ       อธิษฐานมิ
           เนื้อที่พระภิกษุฉันไม่ได้  มีสิบอย่าง ชาวบ้านไม่ควรถวาย คือ เนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้องู เนื้อราชสีห์ เนื้อหมี เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือดาว และเนื้อเสือเหลือง
            พระภิกษุใหม่จะต้องอยู่ปฏิบัติพระอุปัชฌาย์ อาจารย์ และเล่าเรียนพระธรรมวินัยอย่างจริงจัง เพื่อจะได้ปฏิบัติตามกิจของสงฆ์ตาม พระธรรมวินัยได้อย่างถูกต้อง ให้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ตามคติของพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ให้สมกับที่ได้เข้ามาบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา


ขออนุญาติและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล :
อ้างถึง
http://www.heritage.thaigov.net/religion/relceremony/relcer1.htm

432
งานแข่งขันเรือยาวประเพณี วัดบางพระ (สนามจังหวัดนครปฐม) ปี 2553


วัดบางพระ ร่วมกับจังหวัดนครปฐม องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม และองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วฟ้า

ร่วมจัดงานแข่งขันเรือยาวประเพณีชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2553 ระหว่างวันที่ 30-31 ตุลาคม 2553 ตั้งแต่เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป ณ ลำน้ำนครชัยศรี หน้าวัดบางพระ ตำบล บางแก้วฟ้า อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

นางสาวอังคณา พุ่มผกา ผู้อำนวยการสำนักงาน ททท. สำนักงานสมุทรสงคราม (สมุทรสงคราม นครปฐม สมุทรสาคร) เปิดเผยว่า ด้วยเจตนารมณ์ของหลวงพ่อเปิ่น ที่เล็งเห็นว่าการที่พุทธศาสนิกชน ได้เดินทางมาร่วมทำบุญกันที่วัดบางพระเป็นจำนวนมากนั้น ควรที่วัดบางพระจะได้จัดกิจกรรมเพื่อให้สาธุชน ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน กับการที่ได้มาร่วมทำบุญที่วัด

จึงได้ประชุมคณะกรรมการวัดบางพระ และได้แจ้งถึงเจตนารมณ์ที่จะฟื้นฟูประเพณีการแข่งขันเรือยาว โดยเริ่มมีการจัดแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2536 และจัดเป็นประจำทุกปีจนกลายเป็นงานประจำปีของวัดบางพระ

ซึ่งในปีนี้มีเรือที่มีชื่อเสียงเข้าร่วมแข่งขันมากมาย อาทิ
  • ศรีสุริโยทัย  วัดจุฬามนี  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • เรือเทพสองนาง หรือ เจ้าแม่สองนาง จ.สมุทรปราการ วัดต้นตาล
  • เรือเทพทินกร จ.นนทบุรี
  • เรือเจ้าแม่สายชล วัดหนองดินแดง นครปฐม
  • ศรีอโยธยา  กองงานวัตถุระเบิด  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น



แบ่งการแข่งขันออกเป็น 3 ประเภท คือ
  • ประเภทเรือยาวใหญ่ 55 ฝีพาย
  • ประเภทเรือยาวกลาง 40 ฝีพาย
  • ประเภทเรือยาวเล็ก 30 ฝีพาย


และเพื่อเป็นการเสริมสร้างความสามัคคี และความสนุกนานยังได้มีการจัดแข่งขันเรือมาด 7 ฝีพาย ซึ่งเป็นฝีพายชาวบ้านแต่ละหมู่บ้านและผู้ที่สนใจทั่วไป นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้ชมการแข่งขันอย่างสนุกสนาน แล้วยังสามารถท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ไปกับโรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่นได้อีกด้วย

สอบถามทัวร์สุขภาพเพิ่มเติม โทร. 0 3427 7085-8 ต่อ 888 , 08 1299 6845 (คุณหทัยรัตน์), 08 1763 6574 (คุณน้ำค้าง)

สอบถามข้อมูลการแข่งขันเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วฟ้า โทร. 0 3427 7099 หรือ ททท. สำนักงานสมุทรสงคราม โทร. 0 3475 2847-8 E-mail : tatsmsk@tat.or.th หรือ Call Center 1672 เบอร์เดียว เที่ยวทั่วไทย


433

ทราบข่าวมาหลายวันแล้ว ลูกศิษย์ที่สุราษฎร์โทรศัพท์มาแจ้งข่าว
รู้สึกสลดใจเป็นอย่างมาก เพราะอุโบสถหลังนี้ เมื่อต้นปียังได้เข้า
ไปพักและทำพิธี ตอนไปร่วมงานพระราชทานเพลิงศพของพระอาจารย์
อดีตเจ้าอาวาสวัดบางเดือน ซึ่งเป็นพระกรรมวาจาจารย์ และสมัยที่จำพรรษา
อยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์นั้น ได้ไปลงอุโบสถอยู่เป็นประจำ...อนิจจัง ความไม่เที่ยงแท้
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไป..
ก่อนอื่นต้องขอคาราวะ ท่านอาจารย์ครับ

จริง ๆ ผมก็ไปถ่ายภาพมาหลายวันแล้ว ครับ

แต่เนื่องจากเห็นข่าวเงียบ ๆ อยู่ จึงตัดสินใจยังไม่ลงข้อมูล

กลัวว่าจะมีผลต่อเนื่องกลายเป็นประเด็นกันป่าว ๆ

แต่วันนี้ที่ลงได้ เพราะเห็นทางวัดเขาราหู ได้นำรูปภาพไปเผยแพร่แล้ว

จึงคิดว่าคงเสร็จเรียบร้อยแล้ว น่าจะนำเสนอให้ พุทธศาสนิกชนได้รับชม รับทราบ

เกี่ยวกับความเสียหายที่ได้เกิดขึ้นกับ วัดจันทร์ประดิษฐาราม ครับผม

434







สิ้นสุดการนำเสนอแต่เพียงแค่นี้

ขอให้ใช้วิจารณญาณในการรับชมนะครับ

ผู้นำเสนอเพียงแค่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลในเรื่องของความเสียหายที่เกิดขึ้น

ไม่ได้มีเจตนาอื่นใด ควรไม่ควร ก็ขอ อภัย มา ณ ที่นี้ด้วย คับ

ขอบคุณครับ

438
เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2553 ที่ผ่านมา เวลา ประมาณ 13.00 น ได้เกิดเหตุเพลิงไหม้อุโบสถวัดจันทร์ประดิษฐาราม(วัดบางเดือน) ซึ่งได้รับความเสียหายไปค่อนข้างมาก พอดีวันนีั(1 กันยายน พ.ศ. 2553) ได้ผ่านไปทำธุระในระแวกนั้น จึงได้บันทึกภาพความเสียหาย มาให้สมาชิกได้ชมกัน ครับ เห็นแล้วเกิดความหดหู่ใจจังเลยครับ อายุ อุโบสถก็น่าจะเกิด 90 ปี แล้วและยังเป็นสถานที่บวชของพระมหาเถระผู้ใหญ่ของจังหวัดสุราษฎร์ธาน หลาย ๆ ท่านด้วยกัน มาชมภาพกันเลยดีกว่า ครับ







439
เห็นด้วย และ สนับสนุนอย่างเต็มที่สำหรับแนวความคิดนี้

ไปอ่านเจอมา และ อยากนำมาเสนอ เพื่อให้ได้อ่านกัน

เพราะเห็นว่า ดี และ มีประโยชน์กับสังคมไทยในยุคปัจจุบัน

ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะพินาศ(พุทธทาสภิกขุ)
-------------------------------------------------------------------------------


ข้อควรปฏิบัติเมื่อไปวัด

๑. การแต่งกายไปวัด

ควรใช้เสื้อผ้าสีอ่อนๆ ถ้ามีลายก็เป็นลายเรียบๆ เนื้อผ้าไม่ควรโปร่งบางจนเกินไป ไม่หรูหราจนเกินไป เสื้อผ้าไม่ควรหลวมหรือรัดรูปจนเกินไป เพื่อความสะดวกในการกราบไหว้พระและนั่งสมาธิสำหรับผู้หญิงควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย และไม่ควรตกแต่งด้วยเครื่องประดับและเครื่องสำอาง ตลอดจนใส่น้ำหอมมากจนเกินไป ไม่ควรแต่งหน้า เขียนคิ้ว ทาปาก ทาเล็บจนเกินงาม เหตุที่ควรปฏิบัติเช่นนี้เพราะวัดเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม คนไปวัดเพื่อทำบุญ ทำจิตใจให้สงบ จึงควรตัดเรื่องปรุงแต่งกิเลสเหล่านี้ออกไปเสียก

๒. การนำเด็กหรือบุคคลอื่นๆ ไปวัด

เป็นการปลูกฝังนิสัยที่ดีแก่เด็ก เพราะทำให้เด็กได้ใกล้ชิดพระศาสนา ตั้งแต่อยู่ในวัยอันสมควร แต่มีข้อระวังคือ อย่านำเด็กอ่อนไปวัดโดยไม่จำเป็น เพราะอาจก่อให้เกิดความรำคาญ หรือในกรณีที่เด็กซุกซน อาจจะส่งเสียงดังรบกวนสมาธิของผู้อื่นที่ต้องการความสงบในกรณีที่มีความจำเป็นต้องนำบุคคลอื่นๆ เช่น พนักงานขับรถหรือคนรับใช้ไปวัดด้วย ก็ควรเปิดโอกาวให้เขาได้ร่วมทำบุญด้วย และกวดขันเรื่องกิริยามารยาทและการแต่งกาย การขับรถเข้าไปในบริเวณวัด ควรระมัดระวังในเรื่องการใช้แตร การเร่งเครื่องยนต์เสียงดัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะที่พระกำลังสวด และการจอดรถก็ควรจอดให้เป็นระเบียบในสถานที่ที่ทางวัดได้กำหนดไว้

๓. การเตรียมอาหารไปวัด

อาหารที่เหมาะสมสำหรับการนำไปถวายพระภิกษุนั้น ควรเป็นอาหารที่เรารับประทานกันทั่วไป คือ ปรุงจากพืช ผัก หรือเนื้อสัตว์ที่มีขายอยู่ในท้องตลาด แต่ควรระมัดระวังอาหารที่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ที่เป็นที่ต้องห้ามสำหรับพระภิกษุ อันได้แก่
    1.เนื้อมนุษย์
    2.เนื้อช้าง
    3.เนื้อม้า
    5.เนื้องู
    7.เนื้อเสือโคร่ง
    9.เนื้อเสือดาว
    4.เนื้อสุนัข
    6.เนื้อราชสีห์
    8.เนื้อเสือเหลือง
    10.เนื้อหมี

อย่านำอาหารที่ปรุงจากเนื้อดิบๆ เลือดดิบๆ ไปถวายพระภิกษุสงฆ์ เช่น ปลาดิบ กุ้งดิบ ฯลฯ จนกว่าจะทำให้สุกด้วยไฟ นอกจากนั้น ไม่ควรนำอาหารที่ปรุงด้วยสุราที่มีสีหรือกลิ่นหรือรสปรากฏชัดไปถวายพระภิกษุสงฆ์ และอย่าฆ่าสัตว์โดยจำเพาะเจาะจงว่าจะนำเนื้อนั้นไปทำอาหารถวายแด่พระภิกษุสงฆ์

๔. การเตรียมตัวก่อนไปวัด อาจจะทำได้ดังนี้ คือ
    ๑. จัดทำภารกิจของตนให้เรียบร้อยเพื่อจะได้ไม่ต้องเป็นที่กังวล
    ๒. ทำจิตใจให้แจ่มใส โดยการระลึกถึงบุญกุศลและคุณงามความดีที่เคยได้ทำมาแล้ว
    ๓. รำลึกถึงคุณพระรัตนตรัยเพื่อทำใจให้บริสุทธิ์

๕. การปฏิบัติตนโดยทั่วไปภายในวัด

วัดเป็นที่รวมของคนหลายประเภทซึ่งแตกต่างกันมาก ทั้งอายุ ฐานะ และความเป็นอยู่ การศึกษา อาชีพ ตลอดจนนิสัยใจคอ โอกาสที่จะกระทบกระทั่งกันย่อมเกิดขึ้นได้ง่าย จึงจำเป็นต้องระมัดระวังสำรวมตน โดยปฏิบัติดังนี้
    ๑. สำรวมกาย วาจา ใจ ให้สงบเรียบร้อย งดอาการคะนองด้วยประการทั้งปวง ทั้งนี้เพื่อให้กาย วาจา ใจ ของเราเหมาะสมที่จะบำเพ็ญบุญกุศล
    ๒. งดสูบบุหรี่โดยเด็ดขาด
    ๓. ควรนั่งให้เป็นระเบียบในสถานที่ที่กำหนดไว้
    ๔. ในการประกอบศาสนพิธี เช่น สวดมนต์ สมาทานศีล ถวายสังฆทาน ฯลฯ ควรเปล่งเสียงอย่างชัดเจนโดยพร้อมเพรียงกัน
    ๕. เมื่อมีสิ่งใดทำให้ขุ่นข้องหมองใจ เช่น อากาศร้อน กระหายน้ำ เห็นหรือได้ยินกิริยาอาการที่ไม่เหมาะสมของคนอื่น หรือการไม่ได้รับความสะดวกในเรื่องต่างๆ ขอให้อดทนและแผ่เมตตา ให้ความเห็นอกเห็นใจทุกสิ่งทุกอย่าง อย่าให้เกิดโทสะขึ้นได้
    ๖. การสนทนากับพระ ในการสนทนากับพระนั้น หากเป็นผู้ชายไม่ค่อยมีระเบียบปฏิบัติที่เคร่งครัดนัก เพียงแต่ให้ตระหนักว่าเป็นการสนทนากับพระ ซึ่งเป็นปูชนียบุคคลของสังคม มีเพศ คือ สถานะทางสังคมเหนือกว่าตน

เมื่อเข้าไปถึงที่อยู่ของท่าน ควรจะกราบพระพุทธปฏิมาที่ประดิษฐานอยู่ในนั้นก่อน แล้วจึงกราบพระสงฆ์ ซึ่งนิยมกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สำหรับคนที่ต้องแสดงความเคารพอย่างสูง

ทุกครั้งที่พูดกับท่านควรพนมมือไหว้ ใช้สรรพนามที่ใช้เรียกตนเอง เช่น "กระผม" "ดิฉัน" โดยมองที่สถานะของพระเป็นตัวกำหนด หากท่านเป็นพระธรรมดา สรรพนามที่เรียกท่านมักนิยมคำว่า "ท่าน" "พระคุณเจ้า" หากเป็นพระที่มีสมณศักดิ์สูงก็อาจจะใช้คำว่า "ใต้เท้า" "พระเดชพระคุณ" "พระคุณ" "เจ้าพระคุณ" สำหรับสมเด็จพระสังฆราชใช้คำว่า "ฝ่าบาท" สรรพนามแทนตนเองใช้คำว่า "กระหม่อม"

ในกรณีที่เป็นสตรีนั้น ควรมีผู้ชายไปด้วยจะเป็นการดี เพราะพระท่านอาจจะมีปัญหาทางพระวินัย ต้องอาบัติได้ง่ายเมื่ออยู่กับสตรีสองต่อสอง

ที่มา : หนังสือวิถีธรรมวิถีไทย(พระพุทธศาสนา) โดย สุชาดา วราหพันธ์

440
รับทราบ และ ปฏิบัติ ครับผม เพื่อความเหมาะสมและ ป้องกันการนำไปใช้ในทางที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง

ขออนุญาติ เพิ่มเติมข้อมูล นิดหน่อยครับ

สำหรับท่านที่รู้แล้วหรือทำเป็นแล้ว หรือ เคยได้อ่านมาแล้วก็ต้องขอ อภัย ไว้ ณที่นี้ด้วย

แต่สำหรับท่านที่ยังไม่รู้ หรือ ยังไม่เคยทำ หรือ ยังไม่อ่านวิธีการเหล่านี้ที ผมขออนุญาติเพิ่มเติมข้อมูลดังต่อไปนี้ครับ

-----------------------------------------------------------------------------

ACDSee วิธีตัดภาพ โดย Crop




ใช้ Crop ตัดภาพ โดยโปรแกรม ACDSee ภาพจะออกมาสวยต้องมีขนาด 4:5 บางท่านอาจจะยังไม่มีวิธีตัดภาพดีๆ ลองนำวิธีนี้ไปใช้ดูครับ

เริ่มแรกนะครับ ให้เลือกภาพที่ท่านต้องการจะนำลงร้านค้า เมื่อเลือกแล้วจะขึ้นดังภาพ
เลข 1 คือ ภาพที่ท่านเลือกไว้
เลข 2 คือ เครื่องมือ Crop
ให้ท่านกดตรง เลข 2 ก็จะขึ้นดังภาพต่อไป




เมื่อท่านกด Crop แล้ว ก็จะขึ้นดังภาพนี้
ให้ท่านติ๊ก ตรงเลข 1 เมื่อท่านติ๊กแล้วท่านจะสามารถเลือก เลข 2 ได้
เลข 2 จะเอาไว้ Fix ขนาด ให้ท่าน เลือก 4x5 ( เพื่อที่จะให้ขนาดภาพโชว์หน้าร้านค้าออกมาสวยงาม )
เมื่อท่านเลือก เลข 2 แล้วให้ท่านติ๊กตรง เลข 3 ออก เพราะว่า ถ้าไม่ติ๊กออก กรอบที่ต้องการCropจะเป็นแนวนอน
เมื่อท่านติ๊กตรง เลข 3 ออกแล้ว ท่านก็กำหนดกรอบตามความต้องการของท่านเพื่อให้ภาพออกมาสวยงาม ตรงเลข 4
เมื่อท่านกำหนดเรียบร้อยแล้วท่านก็กด Done ตรงเลข 5
ท่านก็จะได้ขนาดที่ท่านตัดเรียบร้อยแล้วเป็นอันเสร็จเรียบร้อย ดังรูปต่อไป




เมื่อท่าน Crop เสร็จแล้ว ภาพก็จะออกมาดังรูปนี้
เลข 1 คือภาพที่ท่านได้ Crop เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่บางภาพอาจจะมีขนาดภาพที่ใหญ่เกินไป จึงต้องทำการ resize
โดยกดที่ เลข 2 เพื่อทำการ resize
เมื่อกดเลข 2 ก็จะขึ้นดังภาพต่อไป




เมื่อท่านกด resize แล้วก็จะขึ้นดังภาพ
ให้ท่านติ๊กตรงเลข 1 และปรับขนาดตามที่ท่านต้องการ เช่น ถ้าท่านต้องการ 400*500 px ท่านก็ปรับใส่ต้องช่องนั้นได้เลย
เมื่อท่านใส่ขนาดที่ต้องการแล้ว หมายเลข 2 จะแสดงภาพที่ท่านได้มีการลดขนาด
เมื่อปรับขนาดเสร็จเรียบร้อยแล้วให้ท่านกด Done ตามหมายเลข 3
ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยในการลดขนาด




เมื่อท่าน Crop และ Resize แล้ว
หมายเลข 1 ก็จะแสดงภาพที่ท่านได้ crop and resize เรียบร้อยแล้ว
ให้ท่านกด save ภาพ ตรงเลข 2 ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อยทุกอย่าง..
ท่านสามารถเลือกขนาดของภาพตามที่ต้องการ มาตราส่วนของร้านค้าออนไลน์ที่กำหนดค่าไว้ ขนาดภาพเท่ากับ กว้่าง x สูง ดังนี้.. 1..400 X 500 px

2..480 x 600 px

3..500 x 625 px

4..560 x 700 px

5..600 x 750 px

6..640 x 800 px



ขออนุญาติลและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : เว็บ-พระ

441
ผมเป็นคนหนึ่งที่ คลั่งไคล้ และ หลงไหล ในมนต์ขลังของ ตะกรุด

ขอขอบคุณมากมาย สำหรับภาพ ตะกรุด งามๆ

เห็นแล้วทำให้เกิดกิเลส

อยากได้มาครอบครองเป็นเจ้าของบ้างครับ

แต่ถึงจะไม่ได้ครอบครอบแค่ได้ชมเป็นบุญตาก็ดีแล้ว

ขอบคุณครับสำหรับภาพ

442
ขอบคุณมากครับสำหรับภาพ ถ่ายที่งดงาม เป็นภาพถ่ายที่ฝีมือไม่ธรรมดาเลยนะครับ

ชอบมุมกล้อง และมุมมองในหลาย ๆ มุมมอง สำหรับภาพบรรยากาศ

และภาพที่เน้นวัตถุก็แจ่มครับ

รวมทั้งหมดขอบอกว่าเยี่ยมมากมายครับ ขอบคุณผลงานดี ๆ ที่นำมาให้ได้ชมกันครับ  :016: :015:

443
สวยงามและเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ดีนะครับ

ขอขอบคุณมากครับ สวยงาม :016: :015:

444
ภายในพิพิธภัณฑ์ น่าหลงไหล และ น่าสัมผัสศิลปกรรม ของจริงมากมาย

อยากไปถ่ายภาพเก็บไว้เป็น อนุสรณ์ เสียดายที่อยู่ต่างจังหวัด

แค่ได้ชมภาพก็ทำให้หลงไหลแล้วครับ

445
ชอบทรง ของมีด เหมือนกัน ครับ งดงาม ส่วนเรื่องอายุ ที่ยาวนาน

น่าจะทรงพลัง เข้มขลังตามอายุของมีด

 :016: :054: :015:

446







สำหรับรูปภาพขอลงไว้แค่นี้ก่อนนะครับเพื่อความสะดวกในการแสดงผลสำหรับท่านที่มีความเร็วอินเตอร์เน็ตไม่สูงมากนัก สำหรับท่านที่ต้องการชมภาพเพิ่มเติมสามารถเข้าไปดูได้โดย คลิกที่นี่ (หมายเหตุในการคลิกเข้าไปดู ต้องความเร็วอินเตอร์เน็ต มากพอสมควร สำหรับบางท่านที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตน้อย ๆ รบกวน กด F5 บ่อย ๆ เพีอให้เครื่องทำความรุ้จักกับแหล่งที่เก็บรูปภาพจะทำให้ดูภาพได้ในที่สุด ครับ)

447
ชื่อโบราณสถาน วัดน้ำรอบ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา สถานที่ตั้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลน้ำรอบ อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายละเอียดโบราณสถาน วัดน้ำรอบ ตั้งอยู่หมู่ ๑ ตำบลน้ำรอบ อำเภอพุนพิน เดิมเป็นวัดเก่าแก่มาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา มีตำนานเล่า ประวัติน้ำรอบว่าสร้างพร้อมกับวัดเขาพระอานนท์ อำเภอพุนพิน และวัดถ้ำสิงขร อำเภอคีรีรัฐนิคม เคยเป็นวัดหลวง มาก่อนแต่ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ ราวปี พ.ศ. ๒๓๗๑ ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงวิจารธาวุธ กรมพระกลาโหม เป็นแม่กองเดินสำรวจรังวัดหัวเมืองปักษ์ใต้ จะยกพระพุทธศาสนาขึ้น หลวงวิจารธาวุธเป็นแม่กองสืบถามเถ้าแก่ ผู้ใหญ่บ้าน ให้รู้ว่าสมเด็จพระมหากษัตริย์แต่ก่อนสืบมาทรงพระราชศรัทธาอุทิศถวายที่ใดเป็นวัด ปู่ย่าตายายได้บอกเล่าต่อๆ กันมาว่าเดิมชื่อวัดหัววังน้ำรอบ มีราชาคณะพระครู หาได้ขึ้นแก่ราชาคณะวัดหัวเมืองไชยาไม่ แต่ขึ้นแก่ราชาคณะเมืองนครศรีธรรมราช พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระพุทธรูปหล่อทรงเครื่องให้แก่วัดน้ำรอบ ๒ องค์ คือ พระพุทธรูปเงินสูง ๒ ศอก หล่อหนักห้าช่าง และพระโมคลาหล่อสูง ๒ ศอก กับพระมณฑปสองยอด ทรงกัลปนาที่ดินแก่วัด พร้อมถวายข้าพระ ๕๐๐ องค์ (ข้อมูลจากหนังสือบุด วัดน้ำรอบ) โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่

        ๑) อุโบสถ สร้างด้วยไม้ตำเสา เป็นอาคารทรงไทยหลังคาจั่วมีช่อฟ้าใบระกาและปีกนกรองรับ ๒ ชั้น ส่วนของหลังคามีลักษณะแอ่นโค้งคล้ายท้องสำเภา ผนังโบสถ์เป็นผนังเตี้ยๆ ก่ออิฐฉาบปูนตำ อิฐก่อขึ้นจากพื้นไม่มีฐานบัวรองรับเหมือนโบสถ์ทั่วไป สัดส่วนความสูงระหว่างหลังคากับผนังโบสถ์ประมาณ ๑;๑ ทำให้สันนิษฐานว่าของเดิมอาจเป็นไม้ทั้งหลัง เป็นพระอุโบสถที่ไม่มีหน้าต่าง หันหน้าไปทางทิศตะวันออกมีประตูที่ผนังด้านสกัด (ผนังด้านที่มีหน้าบันหรือจั่วหลังคา) ข้างละ ๑ ประตู ช่องรับแสงคือช่องว่างระหว่างหน้าบันกับผนังโบสถ์ ซึ่งเปิดโล่ง ที่ผนังทุกด้านเจาะเป็นช่องมีลายปูนปั้นประดับ ผนังด้านสกัดมีปูนปั้นรูปเทวดา ส่วนผนังด้านข้างมีปูนปั้นเป็นรูปลายดอกไม้สี่กลีบหน้าบันอุโบสถแกะสลักไม้ หน้าบันด้านทิศตะวันออกแกะเป็นรูปลายพันธ์พฤกษา ตอนล่างแกะเป็นรูปหน้าอสูร คายก้านใบพันธุ์พฤกษา ที่เสารองรับหน้าบันแกะสลักไม้เป็นลายก้านต่อดอก รับบัวหัวเสาที่แกะเป็นบัวแวง หน้าบันทิศตะวันตกแกะเป็นรูปลายพันธ์พฤกษา มีรูปบุคคลคล้ายเทวดา หรือยักษ์ แสดงอาการเคลื่อนไหวเหาะเหินอยู่ในลายพันธุ์พฤกษา ตรงกลางหน้าบันแกะเป็นรูปอสูร ส่วนของหลังคาบริเวณเชิงชาย แกะสลักเป็นรูปดอกไม้สี่กลีบ ดอกพุดตาน ดอกไม้ลายกระหนกไทย แต่ละด้านสลักลวดลายต่างๆ ไม่เหมือนกัน ลักษณะเป็นศิลปกรรมท้องถิ่นสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ราวรัชกาลที่ ๓ ด้านหน้าพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถมีศิลาจารึกหินชนวนตั้งอยู่ ๑ แผ่น เป็นจารรึกอักษรไทย ภาษาไทย กล่าวถึงการสถาปนาวัด (ดูเรื่องโบราณวัตถุ)

        ๒) เจดีย์ราย อยู่ทางด้านหน้าอุโบสถ ทางทิศตะวันออก มีเจดีย์ก่ออิฐ ๒ องค์ องค์ซ้ายมือ เป็นเจดีย์ย่อมุมไม้ สิบสองขนาดเล็ก ประกอบด้วยฐานเขียง ๑ ชั้น รองรับฐานสิงห์และองค์ระฆัง ปล้องไฉน และปลียอด หักหายไป องค์ขวามือ เป็นเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง ประกอบด้วยฐานเขียง ๑ ชั้น ถัดขึ้นไปเป็นฐานสิงห์ ที่ท้องไม้คาดลูกแก้วอกไก่รองรับองค์ระฆัง ส่วนยอดเป็นบัวถลา ถัดขึ้นไปเป็นปล้องไฉน ปลียอด และเม็ดน้ำค้าง ศิลปสมัยอยุธยาตอนปลาย

        ๓) พระโมคลา เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องประทับยืน ปางประทานอภัย ฉลองพระองค์แบบกษัตริย์ ตกแต่งลวด ลายไทยประดับกระจกสี เป็นสมบัติของวัดตั้งแต่รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

        ๔) ศิลาจารึก ทำจากหินชนวน ขนาดกว้าง ๕๓ เซนติเมตร ยาว ๑๑๑ เซนติเมตร หนา ๔.๕ เซนติเมตร จารึกด้วยอักษรไทย ภาษาไทย ใน พ.ศ. ๒๓๗๑


ข้อมูล สนง.วัฒนธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี ถนนดอนนก อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๘๔๐๐๐

อ้างถึง
ขออนุญาติและขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : พ่อขุนทะเลพระเครื่อง
-----------------------------------------------------------
เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2553 พระภิกษุ-สามเณรที่จำพรรษา ณ วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ไปทำสามีจิกรรมหลวงพ่อกระจ่าง วัดน้ำรอบ ภาพบรรยากาศ ดังต่อไปนี้


เนื่องจากพระครูอนุภาสวุฒิคุณ เจ้าอาวาสวัดน้ำรอบ ได้นิมนต์พระไปฉันภัตตาหารเพลที่วัดน้ำรอบด้วยจึงมีโอกาสได้เก็บภาพบรรยากาศรอบ ๆ วัดน้ำรอบก่อนจุถึงเวลาฉันภัตตาหารเพล










448
"คณะสงฆ์อำเภอพุนพิน(วัดทุ่งเซียด) ทำสามีจิกรรม พระอุดมธรรมปรีชา รองเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี เจ้าอาวาสวัดพระโยค"






สำหรับวันนี้ สิ้นสุดแค่นี้ก่อน ถ้ามีภาพตอนไปทำสามีจิกรรมเพิ่มเติม จะนำมาลงเพิ่มเติมให้ในโอกาสต่อไป สำหรับท่านที่ต้องการชมภาพเพิ่มเติมสามารถเข้าไปดูได้โดย คลิกที่นี่ (หมายเหตุในการคลิกเข้าไปดู ต้องความเร็วอินเตอร์เน็ต มากพอสมควร สำหรับบางท่านที่ความเร็วอินเตอร์เน็ตน้อย ๆ รบกวน กด F5 บ่อย ๆ )

449
"คณะสงฆ์อำเภอพุนพิน(วัดทุ่งเซียด) ทำสามีจิกรรม พระเทพพิพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี เจ้าอาวาสวัดท่าไทร"




450
"คณะสงฆ์อำเภอพุนพิน(วัดทุ่งเซียด) ทำสามีจิกรรม พระเทพสุธี เจ้าคณะภาค16 เจ้าอาวาสวัดไตรธรรมาราม"






451
สามีจิกรรมธรรมเนียมสงฆ์สร้างความสามัคคี
    การทำสามีจิกรรมเป็นธรรมเนียมของสงฆ์อย่างหนึ่งที่ภิกษุสามเณรพึงทำความชอบต่อกันเพื่อความสามัคคีกัน  อยู่ร่วมกันโดยสงบสุข  การทำความชอบนี้เรียกว่าสามีจิกรรมหมายถึงการขอขมาโทษกัน  ให้อภัยกัน  ทุกโอกาส  ไม่ว่าจะมีโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม  ถึงโอกาสที่ควรทำสามีจิกรรมกันแล้ว  ทุกรูปไม่พึงละโอกาสเสีย  จึงได้ชื่อว่าเป็นภิกษุสามเณรที่ดี  ปฏิบัติชอบตามระบอบพระธรรมวินัย  โอกาสควรทำสามีจิกรรมนั้น มีดังนี้
๑.ในวันเข้าพรรษา  ทั้งภิกษุสามเณรที่อยู่ร่วมวัดเดียวกันควรทำสามีจิกรรมต่อกันเรียงตัวตั้งแต่ผู้มีอาวุโสมากที่สุดถึงสามเณรรูปสุดท้ายในวัด  ไม่ควรเว้น  เพื่อความสามัคคี
๒.ในระยะเข้าพรรษา  เริ่มแต่วันเข้าพรรษาและหลังวันเข้าพรรษา  ระยะเวลาประมาณ ๗ วัน  ควรทำสามีจิกรรมต่อท่านที่ตนเคารพนับถือ  ซึ่งอยู่ต่างวัด
๓.ในโอกาสจะจากกันไปอยู่วัดอื่นหรือถิ่นอื่น  นิยมทำต่อท่านผู้มีอาวุโสกว่าตนในวัดและต่อท่านที่เคารพนับถือทั่วไป 

     ทั้ง ๓ กรณีนี้  เป็นการทำสามีจิกรรม  แบบขอขมาโทษ  นอกจากนี้ยังมีสามีจิกรรมแบบถวายสักการะเป็นการแสดงมุทิตาจิตอีกแบบหนึ่ง  นิยมทำต่อท่านที่ตนเคารพนับถือในโอกาสที่ท่านผู้นั้นได้รับอิสริยศักดิ์หรือได้รับยกย่องในฐานันดรศักดิ์  เป็นการแสดงจิตใจที่พลอยยินดีให้ปรากฏ
ระเบียบพิธี
ด้วยความมุ่งหมายและเหตุผลของการทำสามีจิกรรมดังกล่าวข้างต้นนี้จึงเกิดระเบียบพิธีทำสามีจิกรรมขึ้น  โดยนิยมกันเป็นแบบๆ ดังนี้
๑.สามีจิกรรมแบบขอขมาโทษ  นอกโรงอุโบสถหรือนอกวัด
     ก) จัดเครื่องสักการะ  คือ  ดอกไม้  ธูป  เทียน  ใส่พานหรือภาชนะที่สมควร  ธูปเทียนที่นิยมกันใช้ธูปเทียนที่มัดรวมกันเป็นแพธูปเทียนนั้น  หรือจะใช้ดอกไม้  ธูปเทียนเป็นเล่มๆ หรือ  เป็นดอกๆ ก็ได้  สุดแต่จะจัดได้
     ข) ครองผ้าเรียบร้อยตามนิยมของวัดที่สังกัด  ถ้าเป็นภิกษุพาดสังฆาฏิด้วย
     ค) ถือพานดอกไม้ธูปเทียน  ประคองสองมือเข้าไปหาท่านที่ตนจะขอขมา  คุกเข่าลงตรงหน้าระยะห่างกันประมาณศอกเศษ  วางพานทางซ้ายมือของตน  กราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์  ๓  ครั้ง  แล้วยกพานขึ้นประคองสองมือแค่อก  กล่าวคำขอขมาตามแบบนิยม
     ฆ) เมื่อท่านที่ตนขอขมากล่าวคำให้อภัยโทษแล้ว  พึงรับคำตามแบบนิยม  ต่อนี้  ถ้าท่านที่ตนขอขมาให้พรต่อท้าย  พึงสงบใจรับพรท่านจนจบ  และรับด้วยคำว่า  “สาธุ  ภนฺเต”  ถ้าไม่มีให้พรต่อหรือให้พรและรับพรเสร็จแล้ว  พึงน้อมพานสักการะนั้นเข้าไปประเคน  และกราบอีก  ๓  ครั้ง  เป็นเสร็จพิธีขอขมา
๒.  สามีจิกรรมแบบถวายสักการะ
     ก) จัดเตรียมเครื่องสักการะอย่างเดียวกับแบบขอขมา  แต่ในกรณีนี้อาจเพิ่มเติมของใช้หรือสิ่งอื่นใดที่ควรแก่สมณบริโภคด้วยก็ได้
     ข) ในแบบนี้  การทำไม่นิยมว่าผู้ที่ตนทำจะต้องแก่อาวุโสกว่าตนเหมือนในแบบขอขมาแม้ผู้นั้นอ่อนอาวุโสกว่า  ก็ทำได้
     ค) ครองผ้าเรียบร้อยดังกล่าวในเรื่องขอขมาถือเครื่องสักการะเข้าไปหาท่านที่ตนจะทำแล้วประเคนทันที  ถ้าตนอ่อนอาวุโสกว่าพึงกราบ  ๓  ครั้ง  ถ้าแก่กว่าไม่ต้องกราบ  เพียงแต่รับไหว้โดยนั่งพับเพียบประนมมือในเมื่อผู้อ่อนกว่ากราบ  เท่านี้เป็นอันเสร็จพิธี
     การทำสามีจิกรรม เป็นธรรมเนียมของสงฆ์ที่พึงทำต่อกันเพื่อความสามัคคี อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข หมายถึงการขอขมาโทษ ให้อภัย การแสดงความเคารพของพระสงฆ์ในระหว่างพระผู้ใหญ่กับพระผู้น้อย เช่นระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก หรือระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง เป็นต้น

-----------------------------------
เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2553 พระภิกษุ-สามเณรที่จำพรรษา ณ วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ไปทำสามีจิกรรมพระมหาเถระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
1. พระเทพสุธี เจ้าคณะภาค 16 เจ้าอาวาสวัดไตรธรรมาราม
2. พระเทพพิพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสุราษฏร์ธานี เจ้าอาวาสวัดท่าไทร
3. พระอุดมธรรมปรีชา รองเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดพระโยค


พระเทพสุธี เจ้าคณะภาค 16 เจ้าอาวาสวัดไตรธรรมาราม


พระเทพพิพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสุราษฏร์ธานี เจ้าอาวาสวัดท่าไทร


พระอุดมธรรมปรีชา รองเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดพระโยค

452
กราบคาราวะ ท่านอาจารย์ ทั้ง 2 ครับผม

เข้ามาชม จิตรกรรม บนเรือนร่าง ในฐานะที่เป็นหนึ่งในศิษย์สายชายโขงครับ

ตอนนี้ สำนักสายชายโขงคงเข้าที่เข้าทางแล้วซินะครับ


453
ขอกราบคาราวะ พระอาจารย์ก่อนครับ

เข้ามาชมอารยธรรม ลูกปัด จากอีตสู่ปัจจุบัน งดงาม ทั้งศาสตร์ และ ศิลป์

ผมได้ ปริ๊น ภาพลูกปัดของท่านอาจารย์ไปให้หลวงแดนดูครับ

ไม่แน่อาจจะมีภาพมา สมทบด้วยครับ(ถ้าแกให้ถ่าย)

454
เข้าใจคิดนะครับ แต่ก็ขอบคุณสำหรับภาพครับ ได้ความสนุกดี  :005:
มุมแปลกดีครับ

และผมเองก็เพิ่งจะได้เคยเห็นเป็นครั้งแรกเหมือนกัน พอดีมีกล้องอยู่ในมือก็เลยบันทึกภาพมาให้ได้ชมกัน ครับ

สาเหตุที่ทำให้เป็นจุดสนใจก็คือเสียงที่ดังเหมือนอยู่ในสมรภูมิเลยครับก็เลยทำให้ผมสนใจที่จะบันทึกภาพมาให้ได้ชมกันครับ





ส่วนอันนี้ เป็นปืนยิงระเบิดกระบอกคู่ ดูหน้าตาคนยิงซะก่อน(ลุ้นสุดๆ )


^^ ชอบพี่คนนี้จัง  หน้าพี่เค๊า กรี้ดด สุด ๆ  555+ ^^  :025: 
ใครหนอช่าง ใจร้ายจัง ทำพี่เขาได้  32;

น่ารักดีคะ แก้โลกร้อนได้ดี ^^ ขอบคุณมากค่ะ 
  :054:

เป็นมุมกล้องที่รวดเร็วมาก เก็บความรู้สึก ณ จุดนี้ได้พอดี ก็ถือว่า โอกาสเหมาะทำให้ได้ภาพที่ สื่ออารมณ์ได้ดี ครับผม



เทศกาลอะไรครับนี่ มีลูกซองแฝด ด้วย  :095:

ขอบคุณสำหรับภาพที่นำมาให้ชมครับ :016:
เป็นงานบวช ณ วัดแห่งหนึ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ครับผม ถ่าย ณ เวลาตอนแห่นาครอบโบสถ์ ครับ ณ เวลานั้นเหมือนกับอยู่ ในสมรภูมิ รบเลยครับ



   :054::054:เดี๋ยวนี้พัฒนาขึ้นมาเยอะเลย...ตามไม่ทันจริงๆ
สมัยก่อนนั้น ในงานพิธีมงคลต่าง เขานิยมยิง "ปืนปากกระโถน "
ซึ่งมีรูปร่างคล้ายปืนใหญ่โบราณ แต่ปากกระบอกจะสั้นกว่าและเล็กกว่า
ความยาวปากกระบอกประมาณ ๑ ฟุต ความกว้างประมาณ ๖-๘ นิ้ว
ใช้กระสุนเหมือนปืนใหญ่โบราณ ซึ่งเสียงจะดังมาก ยิงตอนขึ้นสัคเคชุมนุมเชิญเทวดา
และอีกครั้งตอนส่งเทวดา พระใหม่จะสวดผิดกันเพราะเสียงมันดังและตกใจ จำบทสวดกันไม่ได้
ว่าสวดไปถึงบทไหนแล้ว


ก่อนอื่น ขอกราบคาราวะ ท่านอาจารย์ก่อนครับผม  :054: :054: :054:

การพัฒนาของเครื่องมือแบบนี้ผมก็เพิ่งจะเคยเห็นเป็นครั้งแรกครับ แต่น่าเสียดายที่มันเป็นของเล่นซะมากกว่าจะใช้ในการประกอบพิธีการเหมือนเมื่อก่อนอย่างที่ท่านอาจารย์กล่าวมา

เพราะเจ้าสิ่งนี้กลายเป็นของเล่นของวัยรุ่นที่จุดกันอย่างคึกคะนอง ไม่ได้มีจังหวะหรือ ช่วงเวลาในการจุด เรียกได้ว่าจุดมันตลอดจนกว่าจะหมดอ่ะ ครับ

เรียกได้ว่าจุดกันไม่ได้ขาดระยะ ตลอดเวลาที่แห่นาคเกือบครึ่งชั่วโมง จะมีเจ้าเสียงของเจ้าสิ่งนี้ตลอด จนอดรนทนไม่ได้ บันทึกภาพมาให้ได้ชมกันว่า วิวัฒนาการของ พิธีการบวช

มันเปลี่ยนไปแล้ว กลายเป็นว่า พิธีแห่นาค ต้องมี เจ้าสิ่งนี้เกี่ยวข้องด้วย(ผมก็ไม่รู้ว่ามันจำเป็นในเรื่องอะไรยังหาคำตอบไม่ได้) และกระทำกันเป็นเรื่องสนุกด้วยความคึกคะนองของคนจุด



กราบขอบพระคุณสำหรับรูปภาพมากครับ ผมก็เพิ่งจะเคยเห็นปืนแบบนี้เป็นครั้งแรกครับ แปลกดี
ผมก็เพิ่งจะเคยเห็นเหมือนกัน จึงบันทึกภาพมาแบ่งปันให้ได้ชมกันคับ เพิ่งจะรู้ว่า เดี๋ยวนี้ เค้าพัฒนากันได้ขนาดนี้แล้วอ่ะ คัรบ (แต่ก็ยังหาคำตอบไม่ได้ว่าจุดไปทำไม มันเกี่ยวข้องอะไรกับพิธีแห่นาค)


สมัยยังละอ่อนอยู่เคยไล่นกในสวนผลไม้ ใช้ไม้ไผ่ลำใหญ่ๆทะลวงลำด้านนึงให้ทะลุแล้วเจาะรูเอาแก๊สก้อนใส่ หยดน้ำ แล้วจุดไฟ เสียงดังเหมือนปืนใหญ่สนั่นลั่นสวนเลย เป็นที่สนุกสนาน
ถ้าจุดแล้วได้ประโยชน์อย่างที่ท่านบอก หรือ จุดเพื่อพิธีการ เหมือนอย่างที่ท่านอาจารย์ ได้กล่าวไว้ ณ เบื้องต้น ก็พอจะเข้าใจได้ครับ

และเดี๋ยวนี้ เค้าพัฒนาแล้วคัรบ เป็นระบบอัตโนมัติด้วยครับ เรียกว่าตั้งเวลายิง ไล่ระดับเสียงได้ด้วยอ่ะ ครับ เรียกว่าใครไปอยู่บริเวณนั้น และไม่มีเครื่องอุดหู หูอาจจะพิการได้เลยอ่ะ ครับ


ขอบคุณครับสำหรับภาพและของเล่นใหม่ที่จับภาพมาให้ชม น่าสนุกครับ
ขอบคุณ ที่เข้ามาชมภาพและตอบกระทู้เพื่อเป็นกำลังใจให้ ในการนำเสนอผลงาน  :054: :054: :054:


thank you for photo...................................... :007: :007: :007:
ขอบคุณ ที่เข้ามาชมภาพและตอบกระทู้เพื่อเป็นกำลังใจให้ ในการนำเสนอผลงาน  :054: :054: :054:

455
ดู ดู๋ ดู....ดู เธอ ทำ







จบแล้วครับ ... แฮะ ๆ เหมือนอยู่ในสมรภูมิเลยครับ ตอนถ่ายภาพ

456





มาดูท่ายิงในแบบ ต่าง ๆ ของแต่ละคน ว่าจะ พิศดาร กันได้ขนาดไหน

459



ส่วนอันนี้ เป็นปืนยิงระเบิดกระบอกคู่ ดูหน้าตาคนยิงซะก่อน(ลุ้นสุดๆ )

460
เป็นภาพเหตุการณ์ งานบวช ณ วัดแห่งหนึ่งใจจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตอนทำพิธีแห่นาค ได้มีกองกำลังไม่ทราบฝ่ายพร้อมด้วยอาวุธครบมือทั้งระเบิดแบบขว้าง ระเบิดแบบยิ่ง และเครื่องยิงระเบิดพร้อม

ด้วยความที่ชอบถ่ายภาพก็เลย เอาตัวเองเข้าไปอยู่ในสมรภูมิแห่งนั้น ก็เลยได้ภาพเหล่านี้มา...





สำหรับเครื่องนี้เป็นเครื่องยิงระเบิด ทำให้เกิดเสียงดังเป็นระบบอัตโนมัติ จะทำงานยิงแบบไล่เสียง ทีละกระบอก โดยใช้แก๊ส

461
ยังขาดภาพบรรยากาศของ...หุบเขาสำนึกบาป ( เขาขวาก )
ซึ่งเป็นหุบเขาที่อยู่หลัง ปริวาสสถาน  ต้องปีนเขาเข้าไป ไม่มีบันได
เนื้อที่ภายในหุบเขาประมาณ 30 ไร่ เป็นสถานที่ที่ใช้ในการเก็บตัว
ปฏิบัติธรรม ตัดขาดจากโลกภายนอก มีทางเข้าออกเพียงทางเดียว
ไม่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ำประปา ไม่มีสัญญานโทรศัพท์ มีแต่ความเป็นธรรมชาติ
30 กว่าปีผ่านไป สิ่งก่อสร้างใหม่เพิ่มขึ้นมา...คนเก่าจากไป คนใหม่เข้ามา
ได้เห็นภาพแล้วคิดถึงบรรยากาศเก่าๆ  สมัยที่ใช้ชีวิตอยู่ในหุบเขาสำนึกบาป
จากมา 20 กว่าปี ไม่เคยลืมบุญคุณสถานที่และพระคุณของครูบาอาจารย์
หลวงพ่อจำเนียร สีลเสฏโฐ พระอาจารย์ใหญ่ประธานสงฆ์วัดถ้ำเสือวิปัสสนา
ศิษย์ขอกราบคารวะต่อครูบาอาจารย์และสถานที่ ที่ให้ศิษย์ได้มีโอกาศจนถึงวันนี้
...วันทามิ ครู อุปัชฌาย์ อาจาริยะคุนัง  สัพพะเม โทสัง ขะมะถะเม ภันเต...สาธุ...สาธุ..สาธุ..อนุโมทามิ.  
ขอคาราวะ ท่านอาจารย์เมสันต์  คมฺภีร์โร(อาจารย์โด่ง) ก่อนครับ

หุบเขาดังกล่าวผมได้ฟังจากพระที่ อยู่ในป่าปริวาสอยู่เหมือนกันครับ และก็หวังไว้ว่า โอกาสหน้าถ้าได้ไปอีก จะเข้าไปเก็บบรรยากาศดูซักครั้ง ที่ว่าต้องปีนเข้าเข้าไปยังคงเหมือนเดิม แต่มีบรรใดเหล็กให้แล้วครับน่าจะง่ายกว่าสมัยก่อน ๆ ส่วนเรื่องไปฟ้าผมไม่ได้ถามพระว่ามีแล้วหรือยังครับผม เดี๋ยวโอกาสหน้าถ้าได้ไปอีกครั้งจะไปเก็บภาพบรรยากาศมาอ่ะ ครับ


ขอบคุณที่นำภาพบรรยากาศวยๆ มาฝากครับ   :015:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม



ขอบคุณครับที่นำภาพสวยๆมาใช้ชม
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม



ภาพถ่ายมุมต่างๆ...บรรยากาศของวัดถ้ำเสือ...สวยงามมากมายครับ

ดูแล้วเหมือนกับได้ไปอยู่ในสถานที่นี้จริงๆ...

ขอบพระคุณครับ...ที่นำเสนอภาพ...มาให้ชม :016:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม

ภาพสวยอาจจะสู้ใครๆ ไม่ค่อยได้ แต่ความภาคภูมิใจในการนำเสนอมุมมองและภายถ่ายรับรองได้ไม่แพ้ใครแน่นอนครับ


ขอบคุณครับ........................ :090: :090: :114: :090: :090:............................
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม

462

ลอ ลิง กับ ลูก


ลอ ลิง กับ สายไฟ


ลอ ลิง นักถูบ้าน


ลอ ลิง จอ จ้อง จา คาโมย


ลอ ลิง บนหลังคา


ลอ ลิง บนต้นไม้


ลอ ลิง ใต่ ราว

หมดแล้วครับ ปิดท้าย ด้วย ลอ ลิง ไต่ ราว คับ

ขอขอบคุณทุกท่านที่สละเวลา แวะมาดู มาชม ผมพาเที่ยวถ้ำเสือ(วัด) กันนะครับ

เรื่องฝีมือ อาจจะสู้ใครไม่ได้ แต่ความภาคภูมิใจที่ได้นำเสนอ เต็มเปี่ยมครับ

464
สัตว์ถึงยังไง ก็ยังคงเป็นสัตว์ แต่ "ดูมันทำ"





อ้ายยยยยยยยยยยยยยยยยยย........สัตว์

465
และก่อนกลับ มาพบกับความมันส์ และ ฮา ตามประสา ลอ ลิง กันซักหน่อยครับ 




466
เมื่อออกจากหุบเขาแล้วก็มาเจอ กับ ศาสนสถานภายในวัดถ้ำเสืออีกรูปแบบหนึ่ง (เป็นพุทธสาสนาเหมือนกันแต่คนละนิกายกับประเทศไทย รูปแบบนี้จะเป็นพุทธศาสนามหายาน ส่วนในประเทศไทยจะเป็นนิกายเถรวาท) เรียกว่าเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนา 2 นิกายเข้าไว้ด้วยกันภายในวัดเดียวครับ





467

มาดูความใหญ่โต ของต้นไม้ ภายในหุบเขาแห่งนี้กัน


กุฏิพระสงฆ์ สร้างแบบอาศัยธรรมชาติแห่งหุบเขา

468
ถัดจากสถานที่ปฏิบัติธรรมที่ซ่อนอยู่ภายในหุบเขาแล้วก็จะมาเจอถ้ำต่าง ๆ มีอยู่หลายถ้ำด้วยกันภายในหุบเขาแห่งนี้



ถ้ำมือเสือ


ส่วนนี่มือผมเอง..อิอิ

469
สถานที่ปฏิบัติธรรม อยู่ริมผาหิน(ภูเขา) ซึ่งอยุ่ในหุบเขาอีกที บริเวณนี้จะถูกห้อมล้อมด้วยภูเขารอบด้าน









กุฏิที่ทาสีน้ำตาลชุดนี้ สร้างเมื่อปี 2520 อายุการใช้งาน 33 ปีมาแล้ว เป็นกุฏิชุดแรกๆของการสร้างวัดถ้าเสือ

470
ปีนเข้า ขึ้นบรรใด เข้าถ้ำกันต่อดีกว่า







472



ไปบุกถ้ำเสือตามตำนานวัดถ้ำเสือกันดีกว่า


ป้ายคำอธิบายประวัติวัดถ้ำเสือ(ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ) ส่วนสาเหตุที่ถ่ายมาแบบนี้ก็เพื่อต้องการให้ท่านไปอ่านเองที่วัดครับ




สถานที่ตามตำนาน(ที่เสือ)

473
ขึ้นไปเยือนศาลาปฏิบัติธรรมวัดถ้ำเสือ จ.กระบี่ ภายในมีรายละเอียดมากมาย


บรรใดทางขี้นไปศาลาปฏิบัติธรรม ภายในศาลาปฏิบัติธรรม คือ ที่มาของ ถ้ำเสือ ตามตำนาน


ประตูทางเข้า ศาลาปฏิบัติธรรม






474
พระธาตุเจดีย์ ที่กำลังก่อสร้าง ยังไม่สำเร็จ









475
พระบรมสารีริกธาตุ(มาจากพุทธศาสนาหลาย ๆ ประเทศ) ที่จะนำไปบรรจุใน พระธาตุเจดีย์ที่กำลังก่อสร้าง




476

น้ำตกริมผาหิน


รอยพระพุทธบาทจำลอง


ทางขึ้นจุดชมวิว นมัสการรอยพระพุทธบาทและพระธาตุเจดีย์ บนยอดเขาแก้ว จำนวน 1,237 ขั้น(ขึ้นมาแล้ว)


กุฏิหลวงพ่อจำเนียร สิลเสฏโฐ เกจิอาจารย์ดังของวัดถ้ำเสือ จ.กระบี่


สถานที่พักรับรองพระมหาเถระ ที่มาเยือนวัดถ้ำเสือ

477
ต่อกันด้วย ไปเยี่ยมสถานที่อยู่ปริวาสกรรมของวัดถ้ำเสือ


ป้ายปริวาสสถานของวัดถ้ำเสือ จ.กระบี่


บรรยากาศ ภายในป่าปริวาส วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่


บรรยากาศ ภายในป่าปริวาส วัดถ้ำเสือ จ.กระบี่

478
เนื่องในวาระดิถีเข้าปีเสือ จึงเดินทางไปบุกถ้ำเสือ(วัด) และได้เก็บภาพเล็กๆ น้อยๆ มาให้ได้ชมกัน

ภาพถ่ายไม่ค่อยสวยแต่อยากนำเสนอในสิ่งทีได้ไปพบเห็นมาก็แล้วกันนะครับ

ส่วนเรื่องภาพสวย ๆ เด็กเรือคงต้องฝีกอีกนานแสนนานกว่าจะ ถ่ายได้สวยงาม

อย่าได้เสียเวลา อีกต่อไปเลย มาชมสิ่งที่ เด็กเรือฯ อยากนำเสนอกันดีกว่าคับ


ซุ้มประตูทางเข้าวัด


ซุ้มประตูทางเข้าวัด


ป้ายรายละเอียดวัดถ้ำเสือ


ถ่ายจากหน้าวัด


อ้างถึง
กระทู้ที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้ เท่าที่ลองค้นหาคร่าวๆ ก็มีดังต่อไปนี้(เอาที่สำคัญๆ)

หลวงพ่อจำเนียร สีลเสฎโฐ วัดถ้ำเสือ จังหวัดกระบี่ :: http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,12755.0.html

รอยพระพุทธบาท วัดถ้ำเสือจังหวัดกระบี่  : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,15477.0.html

เรื่องเล่า...ของหลวงพ่อจำเนียร วัดถ้ำเสือ...เรื่อง...คนธรรพ์  : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,15476.0.html

ท่องแดนธรรม"วัดถ้ำเสือ" ไหว้พระ-ชมหุบเขาคีรีวงศ์  : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,14736.0.html

479
ถ้าเป็นการหยอกเล่นก็ไม่เป็นไร ครับ

ผมก็นึกว่า ผมเอง เป็นผุ้ทำผิดกฏระเบียบของทางเว็บไซต์วัดบางพระ

ก็เลยอยากแก้ไขให้ถูกต้องอ่ะครับ เพราะผมเป็นสมาชิกใหม่ที่สมัครได้ไม่นานนี้เอง

หลายสิ่งหลายอย่างอาจจะ ทำไปโดยรู้เท่าไม่ถึงกาล

ถ้ามีอะไรไม่ถูกไม่ควรก็แนะนำกันได้นะครับ

480
จิ้งจกกำลังมีความสุขตามประสานะค่ะ คุณพี่ก็ไปแอบถ่ายคลิปมาได้

ที่นี้เวปบางพระนะค่ะ เขาห้ามโชว์ภาพที่ส่อไปในทางไม่ดีนะค่ะ  :069:

 :004:
ต้องขออภัยด้วยนะครับถ้าหากผม ละเมิดกฏข้อบังคับของเว็บ ถ้ายังไงรบกวนท่านผุ้ดูแลระบบท่านใดก็ได้ ช่วยลบโพสของผมด้วยครับเพราะผมเองไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้แล้วต้องรบกวนด้วยนะครับ

ผมไม่ได้มีเจตนาที่จะส่อไปทางที่ท่านกล่าวมาแต่อย่างใด แต่อยากเอามานำเสนอในมุมมองของ เรื่องธรรมชาติที่หาดุได้ไม่บ่อยครั้งเท่านั้นเอง และพอดีผมก็ชอบถ่ายรูป ผมเห็นว่ามันแปลกดี ก็เลยนำมาให้เพื่อนสมาชิกได้ชมกัน และ ผมก็ไม่ได้เปิดกระทู้เองด้วยผม มาต่อกระทู้คนอื่นด้วยครับผม

ขออภัย สมาชิกทุกท่านอย่างสูงครับ กับการกระทำที่ละเมิดกฏเว็บไซต์วัดบางพระ ในครั้งนี้



เป็นเรื่องธรรมชาติ แต่หาชมยาก
ปกติเห็นแต่วิ่งไล่กวดกัน ส่งเสียงมิวสิคประกอบ  :095:

ชืนชมความไวของมือ และกระบวนความคิดค่ะ
จึงมีภาพน่ารัก ๆ ให้สมาชิกได้ชมกัน
ถือว่าเป็นเรื่องปกติ ยังไม่เข้าข่าย น้องกบ หรือเสียงตามสาย   :095:

ขอบคุณท่านวัดทุ่งเซียดมาก ๆ นะคะ
 
:054:

ขอบคุณครับสำหรับกำลังใจ

ผมเองก็มองในมุมมองอย่างที่ท่านกล่าวมา คือ มันเป็นเรื่องธรรมชาติที่หาดูได้ไม่ค่อยบ่อย และ เมื่อผมเจอก็แค่อยากนำมาให้เพื่อนสมาชิกได้ชมกันก็เท่านั้นครับ  ไม่ได้มีเจตนาฝ่าฝืนหรือละเมิดกฏข้อบังคับของเว็บแต่อย่างใด

แต่ถ้าหากว่ามันไม่เหมาะสมกับเว็บไซต์วัดบางพระจริง ๆ ผมก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง และต้องขอรบกวนท่านผุ้ดูแลระบบท่านใดก็ได้ช่วยลบโพสของกระผมด้วยครับ เพราะผมเองเข้าไปแก้ไขโพสของตัวเองไม่ได้แล้วครับ

ขอบคุณครับ

---------------------------------------------------

ผมแค่ชอบถ่ายภาพ เห็นว่ามุมมองแปลกแต่จริง ซึ่งหาดูได้ไม่ค่อยบ่อยครั้งจึงนำมาให้ได้ชมกันก็แค่นั้นไม่ได้มีเจตนาอื่นใด ขอรับ กระผม

481
พอดีผมนั่งเล่นเน็ตอยุ่ดีๆ ก็หันไปเห็นภาพหนึ่งซึ่งเห็นแล้วแตะตามากๆ ก็เลยรีบคว้ากล้องคู่ใจถ่ายมา และนำมาแบ่งปันให้ทุกท่านได้รับชมกันไม่รุ้ว่าจะดูได้หรือป่าว พอดีรีบถ่ายอ่ะ คัรบ

เป็นภาพที่ถ่ายสดๆ ร้อนๆ เมื่อซักครุ่ที่ผ่านมานี่เองอ่ะครับ




482
สวยงามครับ ทั้งศาสตร์และศิลป์

เป็นการประยุกต์ระหว่าง 2 สมัยเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว

สวยงามมากครับ ขอบคุณมากที่นำภาพมาให้ได้ชมกันครับ

483
สวยงาม ยกชุดเลยคับผม

ขอบคุณมากนะคับที่นำมาแบ่งปันกันชม

484
รวมสมาชิก (มิตรไมตรี) / ตอบ: อยากถาม
« เมื่อ: 10 มิ.ย. 2553, 09:37:04 »
เชื่อในสิ่งที่ทำ

ทำในสิ่งที่เชื่อ

ถ้าไม่ผิดทำนอง คลองธรรม

ทำไปเถิดจะเกิดผล

485
รูปเก่า ล้ำค่า สวยงาม

ควรแก่การเก็บรักษา

และบันทึกไว้ในความทรงจำเป็นอย่างยิ่ง

ขอบคุณมากครับที่นำมาให้ชมกัน

486
เข้ามาชื่นชมครับ

จิ้งจกเยอะจริง ๆ ครับ

สวนสัตว์ย่อม ๆ เลยนะครับระดับนี้

ชื่นชมจริง ๆ ครับ จิ้งจกมากมาย

487
ขอบคุณมากครับ สำหรับภาพรอยสักอัน ละเอียดและสวยงาม

ช่างเป็นรอยสักที่ละเอียด และ สวยงาม ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง

เป็นศิลปกรรมที่ ประทับไว้บนเนื้อหนัง

488
ด้วยความยินดีครับ...ความเห็นของผม
เหมือนกับหลวงพี่โด่งครับ
(เรื่องธรรมะและความรู้ต่างๆไม่สงวนลิขสิทธิ์ครับ)
เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก

489
ขอบคุณสำหรับภาพที่นำ มาให้ชมกันครับ

นับถือใน ความพยายามโพส มากครับ ^^
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน

กระทู้นี้ เป็นการแนะนำ ประวัติ ของหลวงพ่ออดีตเจ้าอาวาส องค์แรก "พ่อท่านเซียด" ครับ

ผมทำประวัติของท่านในรูปแบบของไฟล์ภาพ โดยพิมพ์ตามหนังสือโบราณ ของทางวัดที่มีอยุ่ ครับ

ส่วน ความพยายามโพส  ผมแค่อยากนำเสนอ ในรูปแบบที่ครบถ้วน ในกระทู้เดียวกันอ่ะ ครับ

คือมีประวัติ ของท่าน และบรรยากาศภายในวัด และ วัตถุมงคลรูปเหมือนของท่านอ่ะครับ

490
พ่อ ท่านเซียด รุ่นที่ ๓ รุ่นนั่งแพบก (จัดสร้างโดยพระครูสารโสตถิคุณ เจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียดองค์ปัจจุบัน) สร้างเมื่อปี ๒๕๔๙










ลิงค์อ้างอิงข้อมุลที่เกี่ยวข้องกับ ตอบกลับ นี้ในเว็บวัดบางพระ
วัตถุมงคลวัดทุ่งเซียดตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน   : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,15335.0.html

เสร็จแล้วครับ สำหรับการนำเสนอประวัติพ่อท่านเซียด

491
พ่อ ท่านเซียด รุ่นที่ ๒ รุ่นหลังช้าง (จัดสร้างโดยพระครูสารโสตถิคุณ เจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียดองค์ปัจจุบัน) สร้างเมื่อปี ๒๕๓๙




















492
พ่อท่านเซียด รุ่นแรก(พระสมห์ติ้ง สจฺจวาโร เป็นผู้จัดสร้าง) เมื่อประมาณปี ๒๕๑๐ กว่า


493
04 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ถ่ายภาพอุโบสถศิลปศรีวิชัยแห่งแรกของประเทศไทย วัดทุ่งเซียด











ลิงค์อ้างอิงข้อมุลที่เกี่ยวข้องกับ ตอบกลับ นี้ในเว็บวัดบางพระ
วัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี - อุโบสถกลางน้ำศิลปศรีวิชัย  : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,15316.html

494

มณฑปพระพุทธรัตนปกป้องไทย



ลานหินโค้ง จำลองของวัดทุ่งเซียด ใช้ในการประกอบพิธีสำคัญ ๆ ในวันสำคัญ ต่าง ๆ ทางศาสนา



ศาลา หอฉัน ของวัดทุ่งเซียด



รูปจำลองพญางูเห่าดง ภายในเจดีย์หลังอุโบสถหลังเก่าวัดทุ่งเซียด



ก้อนอิฐโบราณที่ขุดได้บริเวณที่สร้างเจดีย์คร่อมไว้ และเป็นมวลสารหลักในการทำวัตถุมงคลของวัดทุ่งเซ๊ยด



ห้องสมุดประชาชนซึ่งตั้งอยู่ในวัดทุ่งเซียด และยังเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ชุมชน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนตำบลท่าโรงช้างด้วย

495

อุโบสถหลังเก่าของวัดทุ่งเซียด ปัจจุบันยังใช้การอยู่


อุโบสถหลังใหม่ของวัดทุ่งเซียด เป็นอุโบสถกลางน้ำศิลปศรีวิชัย อยู่ในระหว่างการก่อสร้างยังไม่ได้เปิดอย่างเป็นทางการที(ฝังลูกนิมิต)



มณฑปพ่อท่านเซียด(อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด) สถานที่ประดิษฐานรูปเหมือนองค์อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด หรือ ในนามของพ่อท่านเซียด



รูปปั้นพญาช้างดำ ช้างคู่บรมีของพ่อท่านเซียด(องค์อดีตเจ้าอาวสวัดทุ่งเซียด) เป็นช้างใหญ่ ตามตำนานมีรอยเท้าเส้นผ่านศูนย์กลางกว้างเป็นเมตร



เจดีย์มหาสมบัติโบราณ ตั้งอยู่ที่หลังอุโบสถหลังเก่าวัดทุ่งเซียด

496
สถานที่ต่าง ๆ ภายในวัดทุ่งเซียด

ปริศนาธรรม ก็ เพราะแกนโลกมันเอียง ทำให้ ป้ายวัดเอียง ถ้าเมื่อไหร่คนใจตรงและเที่ยงธรรม ก็จะทำให้ป้ายวัดตรงได้เอง..



ประตูสู่เส้นทางธรรมะ แห่งวัดทุ่งเซียด


ต้นศรีมหาโพธิ์ แห่งวัดทุ่งเซียด


กุฎีเจ้าอาวาส และ ถนน หน้ากุฎี


กุฎีเจ้าพระสงฆ์ หลัง น้อย ๆ


กุฎีเจ้าพระสงฆ์ หลัง น้อย ๆ เป็น ทิวแถว


503
หนังสือเก่าเล่าประวัติพ่อท่านเซียด

หน้าที่ ๑


หน้าที่ ๒

505
ขอบคุณมากมายครับที่นำภาพมาให้ได้ดูกัน

เหรียญ พ่อท่านนุ้ย ของพ่อผมมีอยู่ แต่ของผมไม่มีอ่ะครับ

ประสบการณ์เรื่องสุนัข หรือว่า สัคว์ที่ว่าดุ ๆ ไม่กล้าเข้ามายุ่งเลยอ่ะ ครับ

506
ขออนุญาตินำลิงค์ เกี่ยวกับสำนักวัดเขาอ้อ... ตักศิลาทางไสยเวทย์ภาคใต้ จ.พัทลุง ของท่าน "ธรรมะรักโข" ที่ได้ตั้งกระทู้เอาไว้ เพื่ออ้างอิงข้อมูลและประวัติความเป็นมาของสำนักวัดเขาอ้ออย่างละเอียด ตามลิงค์ต่อไปนี้ -->http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,14720.html


:054: :016:ขอขอบคุณคร๊าพ...สำหรับสิ่งดีๆที่นำมาให้ได้ชมกัน
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน

ทำให้มีกำลังใจในการสรรค์สร้าง ภาพมาให้ได้ชมกันอีกมากมาย

ขอบคุณครับ

509
บันทึกภาพเมื่อวันที่ 03 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ด้านหน้า ส่วนหัวของตัวเรือ






510
ชาวชุมชนบางใบไม้ แห่ต้อนรับเรือยาวขนาด 32 ฝีพาย ที่สั่งขุดจากอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร


เรือลำ ดังกล่าวชื่อเรือเจ้าแม่ทิพย์ วารี ซึ่งสั่งขุด ต่อ ประกอบและลงสี ตกแต่งมาจากอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ด้วยมูลค่ากว่าครึ่งล้านบาท ได้ส่งมาถึงวัดบางใบไม้แล้ว ท่ามกลางความตื้นเต้นของชาวบางใบไม้และตำบลใกล้เคียง ที่จัดขบวนกลองยาวต้อนรับอย่างครึกครื้น นำเข้าโรงเก็บชั่วคราวที่วัดบางใบไม้ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่เนื่องจากเป็นเรือที่มีความยาวประมาณ 30 เมตร 9 นิ้ว หรือ 15 วา 9 นิ้ว ทำให้การเคลื่อนย้ายลำเรือ มีความยากลำบากในการเลี้ยวเข้าประตูวัด ทางคณะกรรมการจึงต้องถอดโขนเรือ และส่วนหางเรือออก เพื่อให้ลำเรือสั้นจนสามารถเลี้ยวจากถนนเข้าสู่ประตูวัดได้อย่างปลอดภัย

กำนันชวลิต ชูเสน่ห์ กำนันตำบลบางใบไม้ อำเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวแสดงความยินดีที่ภาคเอกชนให้การสนับสนุนการจัดทำเรือยาวเจ้าแม่ทิพย์วารี ลำนี้จนสำเร็จ จึงขอเชิญชวนชาวชุมชน เยาวชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้ประโยชน์จากเรือลำนี้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยกิจกรรมการแข่งขันทางน้ำ สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี ให้คุ้มค่ามากที่สุด สมกับเมืองสุราษฎร์ธานีที่มีชื่อในเรื่องคลองร้อยสาย

511
ผมว่าถ้าศรัทธา หรือปรารถนาอยากได้อะไรซักสิ่ง ซักอย่าง

ถึงเจ็บแค่ไหน ก็ ไม่ใช่ปัญหา ทนได้สบายมาก

อย่างเช่นการใช้ชีวิตประจำวัน ถ้าเราอยากได้อะไร ในชีวิต ยอมอดทนเพื่อจะแลกให้ได้สิ่งต่าง  ๆ มาเรายังทนได้

กับการศรัทธาเพื่อจะให้ได้รอยสักที่เราเชื่อว่าจะทำให้ชีวิตเราดีขึ้น ความเจ็บปวด ผมว่ามันจะน้อยมากถ้าหากเรา"ศรัทธา" จริง ๆ

ปิติมันจะมาแทนที่ ความเจ็บปวด ที่เกิดขึ้นกับร่างกายเพียงเล็กน้อยที่เกิดขึ้น

512
กระทู้เริ่มเบี่ยงเบนแล้วนะจ้ะ ... สักที่วัดบางพระ คงไม่ลำบากเกินไปนะครับแต่ก็แล้วแต่ศรัทธาคนเรา

ชอบที่ไหนไปที่นั้นไม่ขัดกันนะครับ ที่ว่ามีพระไปนั้นผมไม่ทราบนะครับ แต่ว่าไม่มีหลักฐานแล้วมาว่าแบบนี้

ต่างก็ว่าฟังมาอย่างนั้น ฟังมาอย่างนี้ ความจริงยังไม่รู้ รู้แค่ว่าฟังมา จะมาพูดมาบอกมากล่าวคนอื่นตามไปมันยังไงอยุ่

ต้นตำหรับอยู่ที่วัดแล้วครับ ไม่ห่างจากกรุงเทพมากครับ แต่ถ้าศรัทธาที่นั้นใกล้บ้านก็ไม่ว่ากันของงี้อยู่ที่ศรัทธา

เราชอบทางไหน ก็เดินทางนั้นครับ ไม่ต้องฟังคำใคร ไปตามที่ต้องการครับ ขอให้มีความสุข ...

วัดบางพระ วอ-อะ-ดอ-(วัด)-บอ-อา-งอ(บาง)-พอ-รอ-อะ(พระ) ...  :058:



เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง ถ้าศรัทธา แม้ว่าจะยากลำบากขนาดไหน

คงจะไม่เกี่ยง ว่าไกล หรือมีเหตุผลประการใดมาแย้ง ถ้าหากว่า "ศรัทธา" จริง ๆ

513
ผมไม่มีภาพหรอก ครับ แต่ตอนนี้ ผมได้มาพึ่งบารมี หลวงพ่อพัฒน์ อยู่ครับ เนื่องจากผมได้มาเรียน อยู่ที่ สำนักวัดพัฒนาราม อยู่ภายใต้ร่มโพธิ์ ร่มไทร ของหลวงพ่อพัฒน์ ณ ปัจจุบันทุกวันนี้ จึงขอเข้ามา ชื่อชมบารมีของหลวงพ่อด้วยอ่ะ ครับ

514
ลองดูครับผมว่าภาพนี้มีอะไรแฝงอยู่ลองดูครับ
ขออภัยครับกระทู้ที่ 11 รูปแรกเลยครับกลางภาพค่อนซ้ายนิดลองสังเกตุดูนะครับไม่รู้ว่าผมสังเกตูนเดียวป่าว
ผิดพลาดขออภัยลงรูปไม่ได้ครับ  ขอบคณครับ

ไม่รู้ว่าบังเอิญ หรือ มีสิ่งศักดิ์สิทธ์ เฝ้ามองอยู่ ผมเห็นเป็นรูป หน้าพระกำลังมองอยุ่ที่ก้อนเมฆ

ใครเห็นเหมือนผมหรือป่าว
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
และต้องขอขอบคุณสำหรับข้อสังเกตุของภาพ เหอะๆ ถ่ายเองยังไม่ได้สังเกตุเลยนะครับเนี่ย ขอบคุณมากครับ


ขอบคุณนะค่ะ สำหรับสิ่งดีๆที่นำมาให้ดูกัน
 :047:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน

ทำให้มีกำลังใจในการสรรค์สร้าง ภาพมาให้ได้ชมกันอีกมากมาย

สังคมไทยถ้ามีน้ำใจให้กันแบบนี้ ก็คงไม่วุ่นวาย


515
สวยงามน่าไปเที่ยวจังเลยนะครับ :053:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม

เป็นวัดที่มีสิ่งสวยงาม แบบเก่าแก่ ให้เลือกดูโดยแบ่งโซนกันอย่างชัดเจน

โซนปัจจุบัน กับ โซนอดีคครับ

ถ้ามีโอกาสก็ น่าจะไปเที่ยวชมได้ครับ คุณค่ามากมาย


เห็นภาพวัดวาอารามและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ...เห็นแล้วชื่นใจครับ

ทำให้หวลระลึกนึกถึงวันเก่าๆและร่องรอยของอดีตกาล..ที่ผ่านพ้นมา

ขอขอบพระคุณครับ...สำหรับเรื่องราวประวัติ...วัดเวียงสระ... :016:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม
ร่อยรอยแห่งอดีต บ่งบอกถึงความเจริญในอดีต เมื่อผ่านกาลเวลา ทำให้ทุกสิ่งเป็นมนต์ขลังภายในตัวเอง
ทำให้ผู้คนรุ่นหลัง ต้องมนต์เสน่ห์ อย่างมิรู้เนื้อรุ้ตัว


ว้าว ว้าว ว้าว    ชอบหอไตรจังเลยคัฟ ดูขลังดี     :016: :015:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม
ครับผม หอไตรอายุกว่า 100 ปี เลยนะ ครับจากตำนานที่มีคนกล่าวกันเอาไว้ มีมนต์เสน่ห์ภายในตัวมากมาย


ขอบคุณมากครับ........ :090: :090: :114: :090: :090:........
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม



   ทที่ฝึกสมาธิอย่างดีเลยนะครับนี้ :016: :015:
ขอบคุณที่แวะเข้ามาชม และเป็นกำลังใจครับผม
เสียดายที่ปัจจุบันมีพระจำพรรษาอยู่แค่ไม่กี่รูปเอง ครับ
ในโซนที่เป็น เมืองเก่า น่าจะเป็นแหล่ง มนต์ขลังได้ดี ครับ
ส่วนโซนที่เป็นวัดในปัจจุบันก็มีการพัฒนาตามยุคสมัย โดยแยกส่วนกัน ไม่ได้ทำลายของเก่าแต่อย่างใด

516
ภาพบายศรี อลังการ  และควรค่าแก่การเก็บรักษาไว้

เป็นภาพที่มีคุณค่ามากมาย เก็บไว้ให้อนุชนคนรุ่นหลังได้ชมกัน

อยากไปถ่ายงานยิ่งใหญ่แบบนี้บ้างจังเลยคับ เป็นความชอบส่วนบุคคลครับผม

517
หน้าเสือ สวยงามมากมายเลยครับผม  :054:

เห็นแล้วอยากได้บ้างจังครับ

ขอเป็นกำลังใจให้เต็มหลังในเร็ววันนะ ครับ

จะได้นำภาพมาให้ได้ดูความสำเร็จว่าเมื่อเต็มหลังแล้วจะออกมาเป็นอย่างไร
 :095: :095: :095:

518


  ภาพไฟไหม้ห้างครับ

 

 

  แต่..มีสิ่งหนึ่งที่ไฟไหม้ไปไม่ถึงครับ  นั่นคือภาพพระบรมฉายาลักษณ์ครับ

 

 

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนานเทอญ

                                                                                                                                   ขอบคุณครับ




ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนานครับ.... :054:


ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ยิ่งยืนนานครับ

ฟ้าสูง แผ่นดินต่ำ แม้กระทั่งไฟ ยังรูว่าอะไรควร อะไรไม่ควร

ทรงพระเจริญ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ

519
ศิลปกรรม บนเรือนร่าง งดงาม แต่ แฝงด้วยความเข้มขลังของ อักขรเลขยันต์

งดงาม มากมายครับ

 :016: :015: :053:

520
เมื่อวานมีโอกาศไปไหว้พระที่วัดสุทัศน์  มาครับ
เลยเก็บภาพบางส่วนภายในวัด 
และบางส่วนของถนนราชดำเนิน มาฝากชาวเว๊บ
ภาพไม่ค่อยเเจ่ม  ขออภัยด้วย ครับ


















ชอบมุมมองการถ่ายภาพ องค์พระมากมาย ครับ โดยเฉพาะภาพที่ 2 และ 3 ชอบเส้นนำสายตาของภาพมากครับ ขอจดจำมุมมองและองค์ประกอบในการถ่ายองค์พระไว้ใช้งานในโอกาสต่อไปบ้างนะครับ

521
"ศาลากลางน้ำ" อายุอานามร้อยกว่าปี













หมดแล้ว ครับ

522
"หอไตร" อายุอานามร้อยกว่าปี



523
"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ"

"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ" แต่ตอนที่ไปไม่มีน้ำในสระเนื่องจากเป็นฤดูร้อนน้ำแห้ง

"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ" สภาพภายในสระน้ำ

"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ" อยู่บริเวณริมขอบสระ แล้วแต่วิจารณญาณ ในการมองนะครับ

"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ" อยู่บริเวณริมขอบสระ เปรียบเทียบสัดส่วน

"สระน้ำโบราณ" ที่มาของอำเภอ "เวียงสระ" เมื่อมองไปบนท้องฟ้า ก็จะเห็น "สระน้ำบนท้องฟ้า"

524
ส่วนฐานของ "เจดีย์เก่า" ที่ซ่อนอยู่ในป่าทึบ





525
ร่องรอยพระพุทธรูปปรักหักพัง ที่ยังหลงเหลืออยู่

สึกกร่อนไปตามกาล และ เวลา

โบราณวัตถุ

526
ศาลพระยาอู่ทอง

ศาลพระยาอู่ทอง



528
เทวสถานเมืองโบราณ เวียงสระ

เทวสถานเมืองโบราณ เวียงสระ

ภายในเทวสถานเมืองโบราณ เวียงสระ มีเทวรูปเคารพบูชา

529
สภาพบรรยากาศโดยทั่ว ๆ ไป รอบ ๆ วัด หลังจากถ่าย ป้ายทางเข้าวัดแล้ว









533
อากาศไม่เป็นใจท้องฟ้า มีเมฆ ขาว และครึ้มฟ้า ครึ้มฝน แต่ไหนๆ ก็ไปแล้ว ก็ถ่ายมาอย่าให้เสียเที่ยว แต่ภาพที่ถ่ายออกมา ท้องฟ้าจะออกมาแนวขาว ๆ ไม่รู้นะแก้ยังไง รบกวนโปรช่วยแนะนำให้หน่อยนะครับ เผื่อโอกาศหน้าต้องเจอสภาพอากาศแบบนี้อีกจะได้ถ่ายได้ดีกว่านี้อ่ะ ครับ


สถานที่ตั้ง       
ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๗ ตำบลเวียงสระ อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเนื้อที่ทั้งหมด ๒๘๑ ไร่ ๑ งาน  ๘๔ ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรสาขาที่ ๘ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จดทะเบียนไว้แล้วเมื่อเดือนมกราคม ๒๕๒๗



ประวัติความเป็นมา
วัดเวียงสระ   เชื่อกันว่า   เป็นวัดสร้างใหม่หลังจากการสร้างเมืองเวียงสระ   เดิมเป็นวัดร้าง  ตั้งติดกับคูเมืองเวียงสระโบราณ ภายในวัดมีสระน้ำวิหารอุโบสถ  และกุฏิสงฆ์  ในสระน้ำ เมืองเวียงสระ เป็นเมืองที่มี ชื่อเสียงและมีความสำคัญทางศาสนาและประวัติศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่า เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๐ -๑๖ มีอาณาจักรแห่งหนึ่งมีอำนาจและมีอิทธิพลมากครอบคลุมจากชุมพรไปถึงชวา  เรียกอาณาจักรนี้ว่าอาณจักรศรีวิชัย  ซึ่งมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองไชยา   รวมทั้งเมืองเวียงสระด้วย   แต่นักประวัติศาสตร์บางคนกล่าวว่าศูนย์กลางของการปกครองอยู่ที่เมืองปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา แต่ก็ยังไม่ยุติจนกระทั่งบัดนี้ เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่   ๑๑   -   ๑๒  ได้มีพราหมณ์  ๒  คนพร้อมด้วยอาจารย์อีก  ๒  ท่าน  กับ สมัครพรรคพวกอีกประมาณ ๓๐,๐๐๐  คน ได้ล่องเรือลงมาทางใต้ ได้ขึ้นบกที่เมืองตะโกลา (เมืองตะกั่วป่า ปัจจุบัน) และล่องลงมาตามลำน้ำตะกั่วป่า มาตั้งเมืองที่บ้านน้ำรอบบริเวณ ริมคลองพุมดวง ได้ตั้งชื่อเมืองว่า ระวะตี (บางท่านว่า  ชื่อ  ทวาราวดี)  เนื่องจากเกิดไข้ห่าระบาดจึงอยู่ได้ไม่นาน ก็ได้อพยพมาตั้งเมืองที่ เมือง เวียงสระ ซึ่งอยู่ใกล้แม่น้ำ และได้ขุดคูเป็นปราการรอบเมือง เพื่อให้น้ำเข้ามาได้เมืองเวียงสระสมัยนั้นเจริญมาก  มีการติดต่อค้าขายกับชาวจีนทางเรือ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๗ กรมศิลปากร ได้ขุดพบเหรียญตราและของใช้ของจีนสมัยราชวงศ์เหม็ง และสมันนั้นตามประวัติ กล่าวว่าอาณาจักรศรีวิชัย กำลังเจริญรุ่งเรืองที่สุด     จึงน่าสันนิษฐานได้ว่าเมืองเวียงสระ น่าจะเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัย

ขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : http://www.siamsouth.com/suratthani/surat036.php





534
สบายดีป่าวคับ
เสียดายไม่ได้ไป
ทุ่งเสียดอะ
ติดงาน  หะหะหะหะ

สบายดี คับผม มีรูปมาให้ชมครับ
ภาพบรรยากาศ งานปริวาสกรรม วัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ๒๐-๒๙ เม.ย. ๕๓ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16514.0.html
ภาพบรรยากาศงานปริวาสกรรมวัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี๒๕๕๓ ชุดที่ ๒ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16883.new.html
ภาพบรรยากาศงานปริวาสกรรมวัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี๒๕๕๓ ชุดที่ ๓ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16884.html

535
ขอร่วมอนุโมทนาบุญด้วยครับ เป็นภาพบรรยากาศที่ดีมาก สาธุ ...  :054:

ขอบคุณมากครับ ที่แวะมาชมและเป็นกำลังใจให้แก่กัน
นำเสนอในรูปแบบของบรรยากาศ จึงมีรูปนำเสนอมากหน่อยอ่ะ คัรบ ถ้านำเสนอในรูปแบบของความสวยงาม น่าจะไม่แจ่มเลยครับสำหรับรูปภาพในเซ็ทนี้

536
ขอบคุณภาพบรรยากาศดีดีนะครับ อยากลองเหมือนกัน ...  :002:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
รสชาติขมได้ใจเลยครับ แต่ศรัทธาจากญาติพี่น้องก็เต็มเปี่ยมกินกันอย่างหน้าตาเฉย


ขอบคุณครับ ก็คิดว่าในชีวิตนี้ถ้ามีโอกาสจะไปเข้าร่วมพิธีให้ได้ซักครั้งก็ยังดี  :002:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
ครับผม ถ้ามีโอกาสก็ลองไปซัก ครั้งนะ ครับ จะได้เห็นพิธีกรรมอันเข้มกลังตามแบบฉะบับของเขาอ้อ


ทราบข่าวว่าล่าสุดวัดบ้านสวนเพิ่งจะจัดพิธีกินเหนียวเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 53 ที่ผ่านมานี่เองครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
ครับผม ภาพบรรยากาศในกระทู้ นี้ทั้งหมดเป็นกิจกรรม พิธีกินเหนียวเมื่อวันที่ 25 พ.ค. 53 ที่ผ่านมาทั้งสิ้นครับ ขอโทษทีผมไม่ได้บรรยายรายละเอียดไว้ในกระทู้ครับ

537
ขอบคุณมากครับ ยอมรับจริงๆครับภาพแต่ละภาพมีคุณค่าจริงๆครับ ถ้าผมมีฌอกาสจะไปในพิธีสักครั้ง....... :090: : :090: :114: :090: :090:......
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
กระผมก็อยากนำเสนอในคุณค่าของพิธีในทุกขณะ แต่ด้วยข้อจำกัดบางอย่างอาจจะทำให้องค์ประกอบของบางภาพ ไม่ค่อยสมบูรณ์ คัรบผม


โชคดีจังเลยครับที่มีโอกาส
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
โชคดีได้มีโอกาสไปแล้วก็อยากเก็บภาพความทรงจำที่ดี ๆ ไว้นาน ๆ  ก็เลยเก็บภาพบรรยากาศนั้นเอาไว้ในรูปแบบของภาพถ่ายและนำมาแบ่งปันให้ทุกท่านได้รับชมกันด้วย เพื่อเป็นการตีแผ่ พิธีกรรมอีกอย่างหนึ่งของ สำนักพุทธาคม ตักศิลาแห่งสยามประเทศ นาม สำนักเขาอ้อ แห่งนี้


อยากไปด้วยจริงๆเลยครับ :070:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
เค้าจัดอยู่เป็นประจำทุก ๆ ปี ครับ ถ้ามีโอกาศก็เรียนเชิญได้นะครับทุก ๆ ท่าน


อยากไปครับ แต่ไม่มีโอกาสสักที

อนาคตคงได้ไป ขอบคุณสำหรับภาพสวยๆและความรู้ครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
เค้าจัดอยู่เป็นประจำทุก ๆ ปี ครับ ในอนาคตถ้ามีโอกาศก็เรียนเชิญได้นะครับทุก ๆ ท่าน


โครตขมเลย ครับ (ห้ามคาย) ด้วย
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
ได้ลองชิมแล้วครับ ขม สุดจะบรรยายเลยอะครับ


ลองมาแล้วครับ ขมมาก กลืนแทบไม่ลง  :095: พิธีการเข้มขลังมากครับ  :016: :015:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน
ได้ลองชิมแล้วครับ ขม สุดจะบรรยายเลยอะครับ
ส่วนพิธีการ ครั้งนี้ ทุกขั้นตอนดูแล้วเข้มขลังมากมายครับ มีการลงอักขระเลขยันต์ในทุกขั้น และทุกตอนของการทำพิธีเลยครับ

538
ขอบคุณมากครับ อยากไปครับ วัดเขาอ้อ ไม่รู้ว่าจะมีโอกาสได้ไปเมื่อไหร่
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ถ้าเคยได้ทำบุญร่วมกัน โอกาสจะมาหาเองโดยไม่ได้ตั้งตัวครับ


กราบนมัสการครับ

กระผมเองยังไม่เคยมีโอกาสได้ไปที่วัดเขาอ้อเลย...

ไว้มีโอกาสจะต้องแวะไปให้ได้ครับ..ขอขอบพระคุณ

สำหรับภาพบรรยากาศของวัดที่เก็บมาฝากครับ :016: :015: :054:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ว่าง ๆ ก็หาโอกาสไป และเก็บภาพมาฝากในกันบ้างนะครับ หลาย ๆ คน นำเสนอต่างกันในแต่ละมุมมอง ซึ่งแต่ละคนมีมุมมองที่ไม่เหมือนกันในวัตถุชิ้นเดียวกัน นำ ต่างคนก็ต่างนำเสนอในมุมมองที่ตนเองถนัด ส่วนมุมมองของผมก็จะถนัดในรูปแบบนี้ครับ


อยากไปจังจังแต่ไม่มีเวลา  อิอิ งานเยอะ :005: :005:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ถ้าว่างจากงานแล้วลองหาโอกาสไปดูอ่ะ ครับ บรรยากาศเข้มขลังดีครับ


อยากไปมากๆเลยครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ถ้ามีโอกาสอยากเรียนเชิญมาสัมผัสกับบรรยากาศอันเข้มขลังของ สำนักตักศิลาแห่งสยามประเทศ

ลองดูครับผมว่าภาพนี้มีอะไรแฝงอยู่ลองดูครับ
ขออภัยครับกระทู้ที่ 11 รูปแรกเลยครับกลางภาพค่อนซ้ายนิดลองสังเกตุดูนะครับไม่รู้ว่าผมสังเกตูนเดียวป่าว
ผิดพลาดขออภัยลงรูปไม่ได้ครับ  ขอบคณครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  และต้องขอขอบคุณสำหรับข้อสังเกตุของภาพ เหอะๆ ถ่ายเองยังไม่ได้สังเกตุเลยนะครับเนี่ย ขอบคุณมากครับ


วิวสวยดีนะครับ

บรรยากาศเงียบดีนะ


ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  เงียบแต่เข้าขลัง ตามแบบฉบับแห่งสำนักตักศิลาแห่งสยามประเทศ

ไปเกือบทุกอาทิตย์ แค่ไม่ได้เก็บภาพมาให้ดู  :095:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ว่าง ๆ ก็เก็บภาพบรรยากาศภายในวัด มาให้ดูกันบ้างนะครับ ตัวผมเองก็เพิ่งจะได้ไปเป็นครั้งที่ 2 เองครับ ก็เลยอยากเก็บภาพไว้เป็นที่ระลึกในมุมมองที่ผมอยากนำเสนออ่ะ ครับ

539
ขอบคุณมากครับ อยากไปครับ ไม่รู้ว่าจะมีโอกาสได้ไปเมื่อไหร่  :054:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ถ้าเคยได้ทำบุญร่วมกัน โอกาสจะมาหาเองโดยไม่ได้ตั้งตัวครับ


กราบนมัสการ...
ขอขอบพระคุณสำหรับภาพบรรยากาศของวัดบ้านสวนครับ :054:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน 


ไม่มีโอกาสได้ไปครับ  ขอบคุณที่นำมาให้ชม
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน ชาวเว็บด้วยกันมีอะไรก็ย่อมนำมาแบ่งกันได้เสมอครับ


สวยงามมากครับ
วัดทางใต้......
ศิลป งดงามจริงๆครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน ถ้ามีโอกาสก็มาเที่ยว วัดทางภาคใต้บ้างซิครับ

สาธุ... วัดบ้านสวน พัทลุง.. มีชายหนุ่มใจงามนำเสนอภาพต่อสู่สาธารณชน...

กว้างขวาง... งดงาม... อากาศร้อนไหมคะช่วงนี้... กุงเต๊บ ร้อนมากกกกกกกกกก!

ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน  ภายในวัดกว้างขวาง เสนาสนะ ก็ งดงาม ส่วนอากาศช่วงนี้ ฝนตกเกือบทุกวันเลยครับ

540
สงบมากครับ ทำให้รู้สึกเหมือนสวนโมกข์เลยครับ
ถ้ามีเวลาว่างก็ แวะมาเที่ยวทางภาคใต้บ้างนะ ครับ


ขอบคุณครับ................... :090: :090: :114: :090: :090:....................
ขอบคุณมากนะครับ ที่แวะเข้ามาดู และ เป็นกำลังใจให้กันในการตอบกระทู้

541
สวยงามมากมายครับ

ประสบการณ์ครั้งหนึ่งที่ผมยังจำได้ไม่เคยลืมเลือน เมื่อปี 2550 ผมได้เคยไปกราบหลวงปู่สุภา และได้รับพรจากปากของหลวงปู่

นับว่าเป็นประสบการณ์ที่ผมยังจำได้ไม่เคยลืมเลยครับ

และได้บูชาสีผึ้ง หลวงปู่มาด้วยครับ

542
มาดูผู้นิยมความเจ็บปวด นิยมเสริมความงามให้ผิวพรรณ กันบ้าง ที่พ่อแม่ให้มามันไม่สวย มันไม่แจ่ม ต้องทำใหม่ ให้มัน......บ่งบอกถึงความมีศักดิ์ศรี ลูกผู้ชาย(ต่อ)








ขอบคุณทุกท่านที่แวะเข้ามา ชม กันยาว ๆ หมดแค่นี้แล้วครับ

543
มาดูผู้นิยมความเจ็บปวด นิยมเสริมความงามให้ผิวพรรณ กันบ้าง ที่พ่อแม่ให้มามันไม่สวย มันไม่แจ่ม ต้องทำใหม่ ให้มัน......บ่งบอกถึงความมีศักดิ์ศรี ลูกผู้ชาย










544
มาดูผู้อยู่เบื้องหลัง ที่เหน็ดเหนื่อย ไม่น้อยกว่าผู้ที่มาเข้าอยู่ปริวาสกรรม ในครั้ง เค้าผุ้นั้นก็คือบรรดา "แม่ครัว"










545
ในช่วงของการปฏิบัติธรรม เจอฟ้าฝนเล่นงานเอา






ต้นกระท้อน หัก ลงมาขวางทาง พระปริวาสิกะ ช่วยกันรื้อและทำความสะอาดพื้นที่


สภาพน้ำท่วม หลังจากฝนตก

546
มาดูหน่อเนื้อ ที่ยังเป็นหน่ออ่อน ๆ ของพุทธศาสนากันบ้าง ต้องคอยปลูกฝัง และหมั่นรดน้ำพรวนดิน ให้เจริญเติบโตกลายเป็นพันธุ์แห่งพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ในวันข้างหน้าต่อไป









547
กิจกรรมในตอนเช้าของทุกวันคือประชาชนจะมาร่วมกันปฏิบัติธรรม ถวายสังฆทานแก่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ และ ตักบาตรพระสงฆ์หมู่ใหญ่ (ต่อ)








548
กิจกรรมในตอนเช้าของทุกวันคือประชาชนจะมาร่วมกันปฏิบัติธรรม ถวายสังฆทานแก่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ และ ตักบาตรพระสงฆ์หมู่ใหญ่ (ต่อ)










เด็กน้อย ตักบาตรพระสงฆ์

549
กิจกรรมในตอนเช้าของทุกวันคือประชาชนจะมาร่วมกันปฏิบัติธรรม ถวายสังฆทานแก่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ และ ตักบาตรพระสงฆ์หมู่ใหญ่ (ต่อ)








550
กิจกรรมในตอนเช้าของทุกวันคือประชาชนจะมาร่วมกันปฏิบัติธรรม ถวายสังฆทานแก่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ และ ตักบาตรพระสงฆ์หมู่ใหญ่ (ต่อ)




แถวบิณฑบาตรของพระภิกษุสงฆ์โรยด้วยกลีบดอกไม้






551
กิจกรรมในตอนเช้าของทุกวันคือประชาชนจะมาร่วมกันปฏิบัติธรรม ถวายสังฆทานแก่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ และ ตักบาตรพระสงฆ์หมู่ใหญ่











อธิษฐานขันข้าวก่อนการตักบาตร

553
ประชาชน มาฟังธรรม ก่อนตักบาตรข้าวสารในตอนเช้าของทุก ๆ วัน ซึ่งวันแรก ๆ ประชาชนยังไม่ทราบว่าพิธิการของการเช้าปริวาสกรรมต้องทำอย่างไรกันบ้างจึงทำให้วันแรก ของการเข้าปริวาสคนมาตักบาตรน้อยไปหน่อย คงเพราะวัดทุ่งเซียดจัดปริวาสปีแรก ทำให้ประชาชนยังไม่ทราบขั้นตอนการปฏิบัติ ปีหน้าคงจะดีกว่านี้ครับผม







554
การทำวัตร สวดมนต์ และปฏิบัติธรรมของพระปริวาสิกะ (ต่ออีกชุด)





พระพิสูจน์ศักดิ์  อภิปุณฺโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด ปฏิบัติหน้าที่แทนเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด เนื่องจากเจ้าอาวาสติดภารกิจจึงมอบหมายให้ผู้ช่วยเจ้าอาวาสปฏิบัติหน้าที่แทนในงานปร
ิวาสกรรมครั้งนี้


555
การทำวัตร สวดมนต์ และปฏิบัติธรรมของพระปริวาสิกะ







เจ้าตัวนี้คงอยากปฏิบัติกับเค้าด้วย

556
มาดูความศรัทธาในสิ่งต่าง ๆ กันบ้างนะครับ

ศรัทธาในผลศีล ผลทาน ผลภาวนา ที่ได้กระทำในแต่ละวัน ลงท้ายก็ต้องร่วมกันกรวดน้ำ รับพร จากคณะสงฆ์หมู่ใหญ่


ศรัทธา ในพระสมเด็จ รู้สึกว่าในป่าปริวาส มีหลายท่านครับที่มีความศรัทธา และยึดติดอยู่กะพระสมเด็จ


สุดท้ายไม่เชื่อก็อย่าลบหลู่นะ ครับ เป็นความเชื่อส่วนบุคคล โปรดใช้วิจารณญาณในการชมภาพด้วยนะ ครับ เพราะเป็นความศรัทธา ที่มีต่อหลัก สปก.4-01 ครับผม

557

สัตว์เลี้ยงของ ร้านค้า(แผงพระเครื่อง) เห็นแล้วน่ารักดี ก็เลยกดมาดูครับ


ข้าวต้มมื้อเช้า เห็นแล้วมีความตัดกันดีระหว่างสีของภาชนะ และ ข้ามต้ม


มันเป็นอุปกรณ์เล่นสนุกของผมเอง


ส่วนคนนี้ก็ไม่รู้ใคร รู้แค่ ใช้ 500D ติดกริ๊ป + เลนส์ 18-200


ย่ามของครูบาร์ อาจารย์ ที่มาเป็นประธานในการจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมในงานปริวาสทั้งหมด

558

ซากของเจ้าที่เจ้าทาง เจ้าถิ่น


สภาพวันแรกของการเข้าปริวาสกรรมก็มีสายฝนมาต้อนรับซะแร้วเล่นเอาเปียกไปตาม ๆ กัน บางท่านก็ไม่ได้เตรียมการไว้ต้อนรับฝน ก็มีปัญหานิดหน่อย เพราะฝนไม่ได้ตั้งเค้ามาก่อนและอากาศก็ร้อนมาก ๆ จึงคิดว่าคงไม่มีฝนหรอก ที่ไหนได้ต้อนรับซะตั้งแต่วันแรกเลยครับ


เล่นกะเงา ยืนมอง ๆ แล้วดูสวยดี ก็เลยกดมาลองดูครับผม


ราวตากผ้า


ความต่างระหว่างแสง และ สี

559
ตามมาด้วย ป้าย แบบต่าง




ดูภาษาที่เขาเขียนก็แปลก ๆ ดี ครับ

560
มาดูอิริยาบถในรูปแบบต่างของพระปริวาสิกะ กันบ้างดีก่า











562
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓






563
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓








565
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










566
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










567
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










568
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










569
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










570
วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓










571
เนื่องจากกระทู้ที่เปิดไปตอนแรกมีรูปภาพเยอะมากแล้วเกรงว่าจะทำให้เสียเวลาในการเปิดกระทู้ในแต่ละครั้ง จึงมาเปิดกระทู้ใหม่เพื่อลดอัตราการทำงานของอินเตอร์เน็ตในการอ่านรูปภาพ

ลิงค์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้มีดังนี้
ภาพบรรยากาศ งานปริวาสกรรม วัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ๒๐-๒๙ เม.ย. ๕๓ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16514.0.html
ภาพบรรยากาศงานปริวาสกรรมวัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี๒๕๕๓ ชุดที่ ๒ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16883.new.html


วันที่ ๒๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓











592
เนื่องจากกระทู้แรกที่เปิดไปมีรูปภาพเยอะมากแล้วเกรงว่าจะทำให้เสียเวลาในการเปิดกระทู้ในแต่ละครั้ง จึงมาเปิดกระทู้ใหม่เพื่อลดอัตราการทำงานของอินเตอร์เน็ตในการอ่านรูปภาพ

ลิงค์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระทู้นี้มีดังนี้
ภาพบรรยากาศ งานปริวาสกรรม วัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ๒๐-๒๙ เม.ย. ๕๓ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16514.0.html

วันที่ ๒๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓









593
ส่วนภาพนี้ คือของที่ระลึกที่เค้าทำแจกผุ้ที่ไปร่วมงานในครั้งนี้ ทุกคน และ ผมเองก็ได้มา 1 รูป และได้ข้าวเหนียวมาอีก 3 คำ(ใส่ถุงห่อกลับมาสุราษฎร์ธานี) ขอบอกว่ามันขมกว่าบริเพ็ดซะอีก กว่าจะกลีนได้ในแต่ละคำซู๊ดยอดดดดดด


594
ปิดท้ายด้วยเพื่อนร่วมทริป(ที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน ไปเจอกันในงาน)  ในครั้งนี้มีทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ มีทั้งสตูดิโอมาเองและถ่ายเพื่อเอามันส์อย่างผมก็มี







----หมดแล้วครับ ขอบคุณที่แวะเข้ามาดู ฝีมืออาจจะไม่ได้เรื่อง แต่ความภูมิใจที่ได้ถ่ายได้แพ้ใครแน่นอน----

596
พิธีกินเหนียวดำของพี่น้องชาวพัทลุง ศิษยานุศิษย์ ที่ศรัทธาในพุทธาคมสายเขาอ้อ มีทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศต่อแถวเข้ามาเพื่อรอรับข้าวเหนียวดำยาของสำนักพุทธาคมเขาอ้อกันภาพที่นำมาให้ชมเป็นส่วนของอุบาสิกา(ผู้หญิง) ส่วนของผุ้ชาย ผมกลับก่อนจึงไม่มีภาพมาให้ดูครับผม






597
ผมเห็นพราหมณ์ประจวบ  คงเหลือ บริกรรมคาถาพร้อมทั้งหยิบข้าวเหนียวดำมาปั้น แล้ว ขว้างไปให้แปะกับตัวเจดีย์จำนวนประมาณ 3 ปั้น น่าจะเป็นแกเอาเคล็ดอะไรซักอย่ากครับ








599
หลวงพ่อท้วม วัดศรีสุวรรณ สุราษฎร์ธานี ดับเทียนชัย






600
พราหมณ์ประจวบ  คงเหลือ บริกรรมคาถา พุทธาคมสายเขาอ้อ ต่ออีกครั้งเพื่อความเข้มขลังของพิธี








601
เมื่อผสมกันจนได้ที่แล้วก็จัดการคดใส่ภาชนะ เพื่อให้เย็นวตัวลง








602
เมื่อข้าวเหนียวดำสุกได้ที่ แล้วก็จะมีการเติมส่วนผสมที่น่าจะเป็นสมุนไพรเพิ่มเติม และ ในขวดก็น่าจะเป็นน้ำมันงา(ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยด้วยนะครับไม่แน่ใจเรื่องข้อมูล)






603
ตรวจสอบ ตรวจเช็คว่าสุกพร้อมที่จะกินได้หรือยัง






604
เมื่อจุดไฟเรียบร้อยแล้ว ทั้งศิษย์สมณะ และ ศิษย์ฆารวาส แห่งสำนักพุทธาคมเขาอ้อ ก็ได้ร่วมกันนั่งปรกอธิษฐานจิตตลอดเวลาจนกระทั่งข้าวเหนียวดำจะสุก










605
ยกหม้อข้าวเหนียวดำ ที่ผสมกับน้ำยาสมุนไพรตำหรับเขาอ้อ ไปตั้งบนก้อนเส้า จากนั้นก็เริ่มจุดไฟ โดยใช้ไม้ฟืนที่ได้ลงอักขระเลขยันต์โดยพุทธาคมเขาอ้อเรียบร้อยแล้ว








606
ลงอักขระเลขยันต์ บนไม้พาย ก่อนจะนำไปกวนข้าวเหนียวดำให้ผสมเข้ากับน้ำยาสมุนไพรตำหรับเขาอ้อ เมื่อกวนแล้วก็ตักนำยาใส่เพิ่มเข้าไปอีกเพื่อให้ได้ปริมาณตามที่ต้องการ








607
ตักน้ำใส่ลงไปในหม้อ ที่มีข้าวเหนียวดำอยู่ข้างในแล้ว เท่าที่ดูด้วยสวยตา น้ำที่ตักเป็นนำยาสมุนไพรตำหรับเขาอ้อ




608
หยิบข้าวเหนียวดำใส่หม้อก่อน 3 กำ จากนั้นก็ให้ขันตักน้ำตักข้าวเหนียวดำใส่หม้อ




609
ลงอักขระเลขยันต์ ให้กับทุกสิ่งทุกอย่างที่จะใช้ในพิธีไม่ว่าจะเป็นหม้อ ฝาหม้อ ไม้พาย แม้กระทั่งตัวเอง








610
ลงอักขระเลขยันต์ บนไม้ฟืนที่จะใช้ในการหุงข้าวเหนียวดำโดยพราหมณ์ประจวบ  คงเหลือ ศิษย์ฆารวาสแห่งสำนักเขาอ้อ








611
เจ้าพิธีในครั้งนี้ คือพราหมณ์ ประจวบ  คงเหลือ ซึ่งเป็นศิษย์ฆารวาสของสำนักเขาอ้อ ที่ได้รับการนับถืออย่างมากในปัจจุบันต่อจากขุนพันธรักษ์ราชเดช





613
บรรยากาศก่อนเริ่ม พิธี กับสิ่งของต่าง ๆ ที่จะใช้ในพิธีในส่วนของการหุงข้าวเหนียวดำ








614
ลิงค์ข้อมูลที่เกี่ยวของกับกระทู้นี้
ไปเยือน วัดบ้านสวน สถานที่ทำพิธีปลุกเสก กิน เหนียวดำน้ำมันงา ตำหรับเขาอ้อ : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16878.html

ไปเยือน วัดเขาอ้อ สำนักตักศิลาแดนสยาม : http://www.bp.or.th/webboard/index.php/topic,16877.html




พิธีกรรมทางไสยศาสตร์ของสำนักวัดเขาอ้อ

ความเชื่อทางไสยศาสตร์ของสำนักวัดเขาอ้อที่สำคัญถือเป็นหลัก นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมให้สานุศิษย์และประชาชนที่ศรัทธาโดยทั่วไปมี 4 พิธี คือ พิธีเสกว่านให้กิน พิธีหุงข้าวเหนียวดำ พิธีเสกน้ำมันงานดิบ และพิธีแช่ว่าน

นอกจากนี้ก็ยังมีพิธีอื่นๆ อีกหลายอย่าง เช่น พิธีสอนให้ชักยันต์ด้วยดินสอดำ และการสร้างพระเครื่องรางของขลัง วิชาดูฤกษ์ยาม ตำรารักษาโรคภัยไข้เจ็บจากสมุนไพร และการรักษาด้วยคาถาอาคม เพื่อประโยชน์ของการศึกษาทางด้านความเชื่อทางไสยศาสตร์ จึงขอนำเอาพิธีกรรมที่กล่าวแล้วข้างต้น มาอธิบายไว้ในที่นี้พอสังเขป



พิธีหุงข้าวเหนียวดำ

นิยมทำพร้อมกับพิธีเสกน้ำมันงาดิบ ชาวบ้านนิยมเรียกว่า "กินเหนียวกินมัน" แต่ละปีจะประกอบพิธีกิน 2 ครั้ง คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 และ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
      
พิธีหุงข้าวเหนียวดำ หมายถึง การนำเครื่องยาสมุนไพร หรือว่านชนิดต่างๆ ไม่ต่ำกว่า 108 ชนิด มาผสมกันแล้วต้มเอาน้ำยามาใช้หุงข้าวเหนียวดำ ซึ่งข้าวเหนียวดำที่นำมาหุงนั้นเป็นข้าวเหนียวที่เรียกกันว่า “ข้าวเหนียวดำหมอ”  คือมีลักษณะเมล็ดดำสนิท โต และแข็งกว่าเหนียวดำทั่วไป
การประกอบพิธีนิยมทำกันภายในอุโบสถมากกว่าสถานที่อื่นๆ ในสมัยก่อนนิยมทำกันในถ้ำฉัตรทันต์ หม้อและไม้ฟืนทุกอัน จะต้องลงอักขระเลขยันต์กำกับด้วยเสมอ พระอาจารย์ผู้ประกอบพิธีจะเริ่มปลุกเสก ตั้งแต่จุดไฟ จนกระทั่งข้าวเหนียวในหม้อสุก แล้วนำข้าวเหนียวที่สุกแล้วไปประกอบพิธีปลุกเสกอีกครั้งหนึ่งจนเสร็จพิธี
      
พิธีกินข้าวเหนียวดำ จะทำพิธีกันภายในอุโบสถ ก่อนกินถ้าสานุศิษย์คนใดไม่บริสุทธิ์ต้องทำพิธีสะเดาะ หรือเรียกว่า "พิธีการเกิดใหม่" หรือ "พิธีบริสุทธิ์ตัว" เพื่อให้ตัวเองบริสุทธิ์จากสิ่งไม่ดีชั่วร้ายทั้งปวง  เมื่อถึงเวลาฤกษ์กินข้าวเหนียวดำ สานุศิษย์จะเปลี่ยนเครื่องแต่งกายเป็นนุ่งด้วยผ้าขาวม้าโจงกระเบนไม่ใส่เสื้อ แล้วเข้าไปกราบพระอาจารย์ผู้ประกอบพิธี 3 ครั้ง เสร็จแล้วพระอาจารย์จะให้นั่งชันเข่าบนหนังเสือ เท้าทั้ง 2 เหยียบบนเหล็กกล้าหรือเหล็กเพชร ปิดศรีษะด้วยหนังหมี มือทั้ง 2 วางบนหลังเท้าของตัวเอง พระอาจารย์ใช้มือซ้ายกดมือทั้ง 2 ไว้ พร้อมกับภาวนาพระคาถา ส่วนมือขวาปั้นข้าวเหนียวดำเป็นก้อนป้อนให้ศิษย์ครั้งละ 1 ก้อน แล้วปล่อยมือศิษย์ที่กดไว้บนเหลังเท้า มือทั้ง 2 ของศิษย์จะลูบขึ้นไปตั้งแต่หลังเท้าจนทั่วตัวจดใบหน้า การลูบขึ้นนี้เรียกว่า "การปลุก" เสร็จแล้วลูบลง เอามือทั้ง 2 ไปวางไว้บนหลังเท้าทั้ง 2 เช่นเดิม โดยกะประมาณว่ากินข้าวเหนียวก้อนแรกหมดพอดี สำหรับผู้ที่ไม่เคยกินอาจกลืนลำบาก เนื่องจากว่าข้าวเหนียวมีรสขมมาก บางคนป้อนก้อนแรกถึงกับอาเจียนออกมาก็มี แต่ถ้ากลืนก้อนแรกจนหมดได้ ก้อนต่อไปจะไม่มีปัญหา พระอาจารย์จะป้อนจนครบ 3 ก้อน ในแต่ละครั้งจะลูบขั้นลูบลง เช่นเดียวกับครั้งแรก แต่ครั้งที่ 3 นั้นเมื่อศิษย์กินข้าวเหนียวหมดแล้ว พระอาจารย์จะใช้มือซ้ายกดมือทั้ง 2 ไว้ที่เดิมหัวแม่มือขวาสะกดสะดือศิษย์ ทำทักษิณาวัตร 3 รอบ พร้อมกับภาวนาพระคาถาไปด้วย เป็นการผูกอาคม
สำหรับคุณค่าของการกินข้าวเหนียวดำ สานุศิษย์ของสำนักเขาอ้อ เชื่อกันว่าใครกินได้ถึง 3 ครั้ง จะทำให้อยู่ยงคงกระพันชาตรี เป็นมหานิยม และยังเป็นยาแก้โรคปวดหลังปวดเอวได้เป็นอย่างดี



          
** พิธีกรรมที่กระทำนั้นจึงเป็นกระบวนการในวิธีและวิถีที่จักกระทำให้บุคคลเข้าถึงธรรม เพราะเมื่อบุคคลเข้าถึงอาคม ก็จักเข้าถึงธรรม เมื่อเข้าถึงธรรม จักพบและเป็นอยู่อย่างยอดยิ่ง


ขอขอบพระคุณ
- หนังสือ "วัดดอนศาลา" โดย คุณธีระทัศน์ ยิ่งดำนุ่น และ คุณจำเริญ เขมานุวงศ์
- หนังสือ "ที่ระลึกงานฉลองสัญญาบัตร พัดยศ พระครูอดุลธรรมกิตติ์ เจ้าอาวาสวัดเข้าอ้อ" โดย คุณสมคิด คงขาว และ คุณศิริพงศ์ ยูงทอง 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2536



616
ขอขอบคุณครับโอกาศหน้ามานำเสอนอีกนะครับ.......... :090: :090: :114: :114: :090: :090: :090....................
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน โอกาสหน้าถ้าได้ไปอีกนะนำมาเสนออีกนะครับ


   ขอบคุณมากครับ อยากไปครับ วัดเขาอ้อ ไม่รู้ว่าจะมีโอกาสได้ไปเมื่อไหร่ ผมพอมีวัตถุมงคลสายเขาอ้ออยู่บ้าง อยากจะเก็บไว้เยอะๆแต่เก็บไม่ไหวครับ ราคาค่อนข้างสูง ออกจากวัดก็สูงมากๆ แต่พิมพ์ที่ออกมาแต่ละชุดสวยมากๆเลยครับ ของวัดเขาอ้อ  ขอบคุณอีกครั้งสำหรับภาพบรรยากาศวัดเขาอ้อครับ
                                                                                                                                 ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน ส่วนเรื่องวัตถุมงคลผมเองก็ยังปรารถนาอยู่เหมือนกันครับ ตอนนี้ที่ทำได้ก็เก็บภาพมาเป็นที่ระลึกเท่านั้นครับ


สวยดีครับ อยากไปมั่งจังเลยครับ  :015:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน ถ้ามีโอกาสก็เรียนเชิญนะครับ บรรยากาศภายในวัดมีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ มีทั้งภูเขา และที่ราบ


ขอบคุณากครับ ที่นำภาพบรรยากาศในวัดมาให้ชมกัน  :015:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน


ชอบตรงสถานที่บูชาวัตถุมงคลมากที่สุดครับ :016:
ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน สถานที่บุชาวัตถุมงคล จะอยู่ใจกลางของวัดเลยครับไม่ว่ามาจากทางทิศใดก็จะเจอกับสถานที่บุชาวัตถุมงคลที่อยุ่ใจกลางของวัดพอดี ครับผม


คงต้องบอกว่า โดนใจอย่างแรง... :077: ปรารถนามานานอยากไปทางโน้น..วัดเขาอ้อ!!
เร็วๆ นี้ จะต้องเดินทางไปทำงานทางใต้อีก.. แต่ยังไม่ยืนยันจังหวัดที่แน่นอน หากมีโอกาสได้แวะไปพัทลุงจะแวะไปทำงานอย่างแน่นอน!!
ทุกซอกมุม ทุกรายละเอียด แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจนำเสนอ รู้สึกว่าเนื้อที่ของวัดเข้าอ้อนั้น กว้างขวางทีเดียว!! แต่ยังอยากเห็นพระพุทธรูปด้านในโบสถ์อีกสักหน่อยค่ะ!!
จริยวัตรสงฆ์ที่ต่างลงแรงบูรณะวัดของตน...นึกถึงความสามัคคีที่ล้วนแต่จะสรรสร้างค์ทุกสิ่งให้ก่อเกิด ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ ห้ำหั่น ทำลาย!! ไม่ได้อะไร...
ขอบคุณค่ะ!!  :048:

ขอบคุณมากนะครับที่แวะ เข้ามาชมและให้กำลังใจกัน ถ้าต้องเดินทางมาก็อยากให้แวะชมกันนะครับ ส่วนเนื้อที่ของวัดกว้างขวางพอสมควรครับ มีให้เลือกภูมิประเทศทั้งแบบบนภูเขา และพื้นที่ราบให้ทัศนาได้ตามพอใจเลยอ่ะครับ ส่วนพระพุทธรูปภายในอุโบสถผมไม่ได้ขอเข้าไปถ่ายมาครับเสียดายอยุ่เหมือนกันถ้ามีโอกาสไปใหม่จะไม่พลาดแล้วครับผม

617
ปิดท้ายด้วย พรหมสี่หน้า

หมดแล้วครับ ... ขอบคุณที่สละเวลาเข้ามาชมภาพหัดถ่ายครับผม

621
ผสม ผสาน กัน ระหว่าง ศิลปะ 2 ประเทศ 2 นิกายของศาสนาพุทธเข้าไว้ด้วยกัน





622
เจดีย์ วัดบ้านสวน ก็มีศิลปแบบสิงค์โปร์ เข้ามาเป็นส่วนประกอบด้วยอีกแล้วครับทั่น











623
อุโบสถวัดบ้านสวน ดูไปดูมาก็มีศิลปของประเทศสิงคโปร์ เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างเห็นได้ชัด








624

วัดบ้านสวนตั้งอยู่ที่เลขที่ ๑๖๖ หมู่ที่ ๖ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ทำเลที่ตั้งเป็นเนินสูงเล็กน้อย น้ำท่วมไม่ถึงตั้งอยู่ในเขตชุมชนที่มีประชาชนอาศัยอยู่หนาแน่นพอสมควร ทิศเหนือจดถนนสายบ้านสวนซึ่งเป็นซอย ทิศใต้จดที่ดิน นายดิษ เดชสง นายคล้าย แต้มช่วย และที่ดินนายเยื้อน ชูยกทิศตะวันออกจดถนนสายบ้านสวน-บ่อนห้วยหมาก ตำบลชัยบุรี อำเภอเมืองพัทลุง ทิศตะวันตกจดที่ดินนายแสง รองเหลือ นายเล็ก ขุนสังข์ นายชม อินทรสมบัติ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๓๘ ไร่ ๓ งาน ๓๘ ตารางวา ตาม ส.ค. ๑ เลขที่ ๕๐๔ มีธรณีสงฆ์รวม ๕ แปลง เนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๓ งาน ๗๓ ตารางวา โดยหนังสือ น.ส. ๓ เลขที่ ๑๘๘๗ ส.ค. ๑ (พระมหาพรหม ขนฺติโก) เป็นเจ้าอาวาส

ความเป็นมาของวัดบ้านสวน (เหนือ) ตามหลักฐานในหนังสือทำเนียบวัดซึ่งพระครูพินิตฯ เรียบเรียง จากทำเนียบวัดจังหวัดพัทลุงของพระครูอริยสังวรณ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดพัทลุง (มหานิกาย) กล่าวไว้ว่า สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๗๐ ตรงกับสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ สมัยกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานกันว่า พระปรมาจารย์ผู้เฒ่าวัดเขาอ้อ พร้อมด้วยพุทธบริษัท เป็นผู้จัดสร้างขึ้น เชื่อกันว่า วัดบ้านสวนมีความสัมพันธ์อยู่ในเครือสายวัดเขาอ้อ โดยที่วัดเขาอ้อสร้างขึ้นก่อน ในราว จ.ศ. ๓๐๑ (พ.ศ. ๒๔๘๒) ต่อมาในระยะหลังเจ้าอาวาสวัดเขาอ้อเห็นว่า ในละแวกใกล้ ๆ มีชาวบ้านผู้ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตั้งบ้านเรือนทำมาหากินอยู่มากมาย จึงตั้งวัดดอนศาลาขึ้นเป็นวัดที่ ๒ และเข้าใจว่าต่อมาก็ได้สร้างวัดบ้านสวนเป็นวัดที่สาม ในระยะแรก ๆ สันนิษฐานกันว่าเจ้าอาวาสคงสืบเชื้อสายมาจากวัดเข้าอ้อ เป็นลำดับ ดังจะเห็นได้จากในสมัยปัจจุบันพระครูสิทธิยาภิรัต (หลวงพ่อเอียด) อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนศาลาเป็นศิษย์สำนักวัดเขาอ้อ พระครูสิทธิยาภิรัต วัดดอนศาลา สุดท้ายพระครูอดุลธรรมกิตติ์ (พระใบฎีกากลั่น อคฺคธมุโม) เจ้าอาวาสวัดเขาอ้อเป็นศิษย์พระครูพิพัฒน์สิริธร วัดบ้านสวน ทำให้เข้าใจว่า ทั้ง ๓ วัดนี้มีความสัมพันธ์กันเรื่อยมาตามกาลสมัย

วัดบ้านสวนนี้ ครั้งหนึ่งชาวบ้านเรียกขานกันว่า วัดกุลหอม หรือ วัดพิกุลหอม ดังคำกลอนสนุก ๆ ว่า
วัดกุลหอมจอมควนบ้านสวนนี้ ยังมีโจรดีดีสามสี่คน อยู่ตำบลมะกอกเหนือเหลือที่จัด ลักหนุนวัดเห็นง่ายไม่ขัดสน
แต่เนื่องจากที่นี้เป็นควนบ้านสวนชาวบ้านจึงเรียกกันติดปากมาว่า วัดบ้านสวน หลายปีผ่านมา วัดบ้านสวน เกิดขึ้นอีกวัดหนึ่งตั้งอยู่ที่ตำบลควนมะพร้าว อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ทางราชการจึงตั้งชื่อ เพื่อไม่ให้ไขว้เขวเกี่ยวกับสองวัดนี้โดยให้วัดบ้านสวน ตำบลควนมะพร้าว ชื่อว่า วัดบ้านสวนใต้ วัดบ้านสวนตำบลมะกอกเหนือ ชื่อว่า วัดบ้านสวนเหนือ

625
ปิดท้ายด้วย ภาพหลวงพี่ กำลังบูรณะ อะไรซักอย่างอยู่ที่ทางเข้าถ้ำฉัตรทัณ ครับ

หมดแล้วครับ ... ชมแล้วแนะนำด้วยครับเพื่อจะได้นำไปพัฒนาฝีมือในโอกาสต่อไปครับ

626
ถ้ำฉัตรทัณ ถ้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งวัดเขาอ้อ


ประตูทางเข้าถ้ำฉัตรทัณ ถ้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งวัดเขาอ้อ


ภายในถ้ำฉัตรทัณ ถ้าศักดิ์สิทธิ์แห่งวัดเขาอ้อ

627
พระพุทธรูปองค์ใหญ่ ปางป่าเลไลย์ ตั้งอยู่บนเขา

ระฆัง ที่แขวนอยู่บริเวณนั้น

628
เจดีย์ ซึ่งตั้งอยู่บนเขา ดูทำเลแล้ววิวสวยดีครับ







629
น่าจะเรียกว่า มณฑป อ่ะนะครับ ภายในเป็นรอยพระพุทธบาทจำลอง ตั้งอยู่บนเขาครับ





630
ทางขึ้นจุดชมวิวบนเขาอ้อ มียักษ์เฝ้าอยู่

บันใดทางขึ้นจุดชมวิวบนเขาอ้อ

บันใดทางขึ้นจุดชมวิวบนเขาอ้อ

บันใดทางขึ้นจุดชมวิวบนเขาอ้อ

บันใดทางขึ้นถ้ำอีก

บันใดทางขึ้นถ้ำ

631
สถานที่บูชาวัตถุมงคล วัดเขาอ้อ

632
ศาลาอยู่ใจกลางวัดพอดี อยู่หน้าเขา ตั้งอยู่ตรงกะอุโบสถพอดี

633
หอระฆังอยู่ในกลางวัด กะ ธงเหลืองเริ่มจะขาดวิ่นแล้วครับ

634
อุโบสถวัดเขาอ้อ ตั้งอยู่บริเวณริมเขา

636
อีกมุม รอบๆ วัด ในหลาย ๆ มุม




638
กุฏิเจ้าอาวาสวัดเขาอ้อ สำนักตักศิลาแดนสยาม







ซ้าย : พระปลัดพิสูจน์ศักดิ์  อภิปุณฺโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี
ขวา : พระอธิการห้อง  ธมฺมวโร เจ้าอาวาสวัดเขาอ้อ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

639

วัดเขาอ้อแต่เดิมเป็นสำนักเขาอ้อซึ่งเป็นสำนักทิศาปาโมกข์แบบเดียวกันกับในประเทศ
อินเดีย สำนักเขาอ้อก่อตั้งขึ้นก่อนปี พ.ศ. ๘๐๐ ผู้ก่อตั้งคือพรหมณาจารย์หรือพราหมณ์ผู้ทรงเวทย์ที่เดินทางมาจากประเทศอินเดีย เป็นยุคที่นามเรียก ดราวิเลียนยาตรา
คือยุคสมัยที่ศาสนาพราหมณ์เริ่มเคลื่อนไหวออกจากประเทศอินเดียเพื่อจะขยายฐานศรัทธาข
องศาสนาพราหมณ์ อันเป็นผลเนื่องจากศาสนาพุทธที่กำลังมาแรงในประเทศอินเดีย
ทำให้ศาสนสถานของพราหมณ์หลายแห่งต้องกลายมาเป็นศาสนสถานของศาสนาพุทธ เช่นวัดต่างๆในเขตเมืองนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี เพชรบุรี และจังหวัดพัทลุงก็เช่นกัน


ศาสนาพุทธได้เริ่มมาตั้งมั่นในเมืองนครศรีธรรมราชราวปี พ.ศ. ๘๐๐ ตามหลักฐานระบุว่าศาสนาพราหมณ์เดินทางมาก่อน ก็แสดงว่าสำนักเขาอ้อย่อมที่จะมีการก่อตั้งขึ้นก่อนปี พ.ศ. ๘๐๐ อย่างแน่นอนเพราะสำนักนักเขาอ้อศาสนาพราหมณ์เป็นผู้ก่อตั้ง

มีบันทึกชื่อสำนักเขาอ้อในหนังสือโบราณเล่มหนึ่งที่อยู่ในห้องสมุดของ
มหาวิทยาลัยพาราณสีในประเทศอินเดีย ค้นพบโดย เวทย์ วรวิทย์
อดีตมหาเปรียญผู้ผ่านการศึกษาเกี่ยวกับประวัติพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง
ในบันทึกมีใจความว่าแต่เดิมสำนักเขาอ้อเป็นสำนักทิศาปาโมกข์
คือเป็นที่บำเพ็ญพรตของพราหมณ์ผู้ทรงวิทยาคุณทำหน้าที่ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่เชื่
อพระวงศ์ หรือวรรณะกษัตริย์ และลูกหลานผู้นำ
เพราะพราหมณ์เป็นชนชั้นรักสงบมีธาตุแห่งความประนีประนอมสูง
มีความคิดกว้างไกล เป็นชนชั้นนักการศึกษาชนชั้นแรกของโลก


โดยนอกจากจะมีวิชาเกี่ยวกับการปกครองตามตำราธรรมศาสตร์แล้ว ยังมีเรื่องพิธีกรรม ฤกษ์ยาม การจัดทัพตามตำราพิชัยสงครามตลอดไปถึงไสยเวทย์ และการแพทย์


การสืบทอดวิชาในสำนักเขาอ้อได้ดำเนินมาจนกระทั่งถึงพราหมณ์รุ่นสุดท้าย
ท่านได้เล็งเห็นถึงสถานการณ์ว่าไม่สามารถที่จะต้านกระแสศรัทธา
ของศาสนาพุทธได้แน่แล้วจึงคิดหลอมสำนักเขาอ้อเข้า
กับศาสนาพุทธและกลัวว่าจะไม่มีผู้ใดรับสืบทอดวิชา และสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
ต่อซึ่งพราหมณ์ผู้บรรลุพระเวทย์หลายท่านได้ฝังร่างไว้ที่นี้จะถูกปล่อยให้รกร้าง
ประกอบกับขณะนั้นอิทธิพลทางพระพุทธศาสนา
ได้แผ่เข้ามาถึงตัวจังหวัดพัทลุงแล้ว จึงได้ตัดสินใจนิมนต์พระรูปหนึ่ง
มาจากวัดน้ำเลี้ยว วัดน้ำเลี้ยวปัจจุบันเป็นวัดร้างหมดสภาพ
ความเป็นวัดแล้ว มีนามว่า
พระอาจารย์ทอง ให้มาอยู่ในถ้ำแทนและมอบคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของ
บูรพาจารย์พราหมณ์พร้อมถ่ายทอดวิชาให้และมอบสำนักให้
กลายเป็นที่พักสงฆ์จึงกลายมาเป็น "วัดเขาอ้อ"

แม้ว่าสำนักเขาอ้อจะกลายมาเป็นสำนักสงฆ์แล้ว แต่ก็ยังคงสืบทอดหน้าที่
เป็นสำนักเผยแพร่ความรู้ให้แก่เยาวชนต่อมาอีกหลายร้อยปี
แต่ว่าเมื่ออยู่ในความปกครองของพระภิกษุ บรรดาศิษย์ที่เข้าเรียนในสำนักนี้
มีหลายชนชั้นไม่เหมือนกับสมัยพราหมณ์ปกครองอยู่เปิดโอกาสให้แก่เชื่อพระวงศ์
หรือวรรณะกษัตริย์ และลูกหลานผู้นำเท่านั้น
ต่อมาในปี ๒๒๘๔ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระพุทธรูปหล่อสำริด ๑องค์ และหล่อด้วยเงิน ๑องค์
แก่วัดเขาอ้อสร้างโดยเชื้อพระวงศ์ที่เคยมาศึกษาวิทยาการที่สำนักเขาอ้อมีนามว่า
เจ้าอิ่ม กับ เจ้าฟ้ามะเดื่อ ในสมัยพระมหาอินทราชท่าน
ได้ทำการบูรณะพระพระพุทธรูปในถ้ำ ๑๐องค์ แทนพระบารมี ๑๐ทัดของพระพุทธองค์
สร้างอุโบสถขึ้น ๑หลัง สร้างพระพุทธบาทจำลอง พระพุทธไสยาสน์ ๑องค์
พร้อมด้วยมณฑปไว้บนเขาอ้อ และสร้างเจดีย์ไว้บนเขาอ้อ ๓องค์
แล้วท่านก็ไปจากวัดเสีย ต่อมาปะขาวขุนแก้วเสนาและขุนศรีสมบัติพร้อมกับชาวบ้านใกล้เคียง
ไปนิมนต์พระมาหาคงให้มาอยู่ต่อที่วัด ต่อมาก็มีเจ้าอาวาสปกครองวัดเขาอ้อ
ต่อกันมาหลายสิบรูปล้วนแต่มีความเชี่ยวชาญทางไสยเวทย์มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วภาคใต



วัดเขาอ้อ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ต.มะกอกเหนือ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ๙๓๑๕๐


ขอขอบคุณแหล่งที่มาของข้อมูล : http://www.109wat.com/bk01.php?id=314

640
อ๊อฟ พงษ์พัฒน์ เจ๋งไม่มีใครเกิน ชอบมากมาย รักพ่อด้วยคน รักในหลวงครับด้วยคนครับ

652
ขอขอบคุณทุกท่านมากนะคับที่แวะเข้ามาดูรูปกัน หลังจากได้หยุดคัด และ เลือกรูปอยู่หลายวันก็กลับมา ขอลงต่ออีกรอบแล้วกันพอดีถ่ายมาเผื่อเลือกอ่ะ คับจึงต้องใช้เวลาในการเลือกรูปหน่อยอ่ะ ครับก็มาชมกันต่อเลยนะครับ


วันที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓



แสงแห่ง รุ่งอรุณ ยามเช้า ณ วัดทุ่งเซียด


อุโบสถกลางน้ำศิลปศรีวิชัยแห่งแรกของประเทศไทย กับ แสงแห่ง รุ่งอรุณ ยามเช้า ณ วัดทุ่งเซียด


ป่าปริวาสในยามเช้า


ท่ามกลางสายหมอก


บ่งบอกเขต ประกาศห้ามเข้า

653
วันที่ ๒๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓





















พระเทพพิพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประธานในงานปริวาสกรรมวัดทุ่งเซียด

654
วันที่ ๒๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓



เจ้าอาวาส ผุ้ช่วยเจ้าอาวาส วัดทุ่งเซียด สนทนากับพระที่มาเข้าปริวาสกรรม


พระประยุทธ์  วฑฺฒโน วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่


พระอาจารย์เมสันต์  คมฺภีโร วัดทุ่งเว้า ตำบลนาสีนวล อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ผู้จัดการควบคุมงานปริวาสกรรมครั้งนี้ เดินทางมาถึงบริเวณป่าปริวาส


วันแรกก็ต้อนรับด้วยฝนไปแล้วครับ


655
วันที่ ๒๐ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓


วันนี้เป็นวันแรกของการเข้าปริวาสกรรม ณ วัดทุ่งเซียด หมู่ที่ ๑ ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี นับรวมจำนวนพระปริวาสิกะ ได้ทั้งหมด ๙๗ รูป พระปกตตาจารย์ได้ทั้งหมด ๒๔ รูป และมีสามเณรเข้าร่วมปฏิบัติธรรมด้วย ๒๘ รูป ชีพราหมณ์ร่วมปฏิบัติธรรมด้วยประมาณ ๓๐ คน










สามเณร จากวัดพุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ที่ได้มาร่วมปฏิบัติธรรมในงานปริวาสกรรม ร่วมกันฉันภัตตาหารเช้า กันอย่างพร้อมเพรียงและเป็นระเบียบเรียบร้อย


656
วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓


  

พระภิกษุที่มาเข้าปริวาสกรรมให้ความสนใจในป้ายประกาศ ตารางกิจกรรมในการเข้าปริวาสกรรมของวัดทุ่งเซียด


ความเชื่อและความศรัทธา ของผู้ที่มาเข้าปริวาสกรรม


สามเณรน้อย มาจากจังหวัดสุพรรณบุรี



  

ซากเจ้าถิ่น เจ้าที่  เจ้าทาง

657
วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓











สามเณรจากวัดพุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี ได้มาร่วมปฏิบัติธรรมในการเข้าปริวาสกรรมครั้งนี้ด้วย
ในภาพสามเณรเพิ่งจะเดินทางมาถึงทำการกราบสักการะ เจ้าอาวาสกันก่อน

658
วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓











เริ่มต้นด้วย ป้ายต่าง ๆ

660
วันที่ ๑๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓


มาชมการปักกลด และการกางเตนท์










661
วันที่ ๑๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๓


ก่อน ถึงวันปริวาสกรรม วันนี้ก็ได้นำเอาภาพบรรยากาศสถานที่ เข้าปริวาสมาให้ชมกันก่อนครับ นับถึงวันนี้ก็มีพระเดินทางมาถึงแล้วประมาณ 20 กว่ารุปแล้วครับ และได้จัดหาที่พักปักกลด กางเตนท์กันบ้างแล้วครับผม ก็มาชมภาพบรรยากาศกันเลยนะครับ


ป้ายชื่อ สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี แห่งที่๖

ลานธรรม สำหรับพระปริวาสิกะ พระมานัตตะใช้ในการทำวัตร สวดมนต์ และปฏิบัติธรรม เจริญวิปัสนา กัมมัฏฐาน

สถานที่สำหรับปกตตาจารย์

664

เรือเทพอนุรักษ์ แชมป์ประเภท 20 ฝีพายในสนามนี้ครับผม








666

ตอนลงรถก็เจอกับลำนี้เป็นลำแรกก็ กดเก็บมาไว้ด้วยความใจร้อนก็เลยเก็บรายละเอียดได้ไม่หมด



พอเดินลงไปริมน้ำก็ได้เจอเรือของ อบจ.สุราษฎร์ธานี ชื่อเรือนางพญา ก็ได้แต่เก็บภาพมาก่อน เพราะเวลามีน้อย


เดินต่อไปก็ได้เจอกับรถครับนี้ไม่รู้ว่าเขาจะทำอะไรกัน แต่ ที่รู้ ๆ เครื่องเสียงและการตกแต่งสะดุดตาดีครับ




และเรือยาวลำไหนที่ว่าแน่ ๆ ลองเจอกับลำนี้หน่อยไหมครับ

667
กลับจากงานไหว้ครู  ก็เลยแวะเข้าไปเก็บภาพการแข่งขันเรือยาวมาฝากกันเล็กน้อย แต่ต้องขออภัยด้วยเนื่องจากเวลามีน้อยมาก ก็เก็บบรรยากาศโดยรอบ ๆ ของงาน










673



พระครูพิพัฒน์ธีราภรณ์(ธงชัย อรุโณ) เจ้าอาวาสวัดไตรมารคสถิตย์(โคกกลอย) ต.โคกกลอย อ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา





พระอาจารย์เมสันต์  คมฺภีโร(อ.โด่ง) เจ้าอาวาสวัดทุ่งเว้า ต.นาสีนวล อ.เมือง จ.มุกดาหาร

678
ก่อน ถึงวันปริวาสกรรม วันนี้ก็ได้นำเอาภาพบรรยากาศสถานที่ เข้าปริวาสมาให้ชมกันก่อนครับ นับถึงวันนี้ก็มีพระเดินทางมาถึงแล้วประมาณ 20 กว่ารุปแล้วครับ และได้จัดหาที่พักปักกลด กางเตนท์กันบ้างแล้วครับผม ก็มาชมภาพบรรยากาศกันเลยนะครับ

ป้ายชื่อ สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี แห่งที่๖


ลานธรรม สำหรับพระปริวาสิกะ พระมานัตตะใช้ในการทำวัตร สวดมนต์ และปฏิบัติธรรม เจริญวิปัสนา กัมมัฏฐาน


สถานที่สำหรับปกตตาจารย์




679
วัดอยุ่ไกลจากถนนมากหรือป่าวครับ
      ศิษย์  หลวงโด่ง

วัดอยู่ติดถนน เลย ครับ เดินทางมาตามแผนที่ ด้านบนได้เลยครับวัดอยู่ริมถนน สังเกตุได้ง่ายครับ





680
                    ขอเชิญร่วมงาน ไหว้ครูบูรพาจารย์-สรงน้ำพระธาตุ-สมโภชพระ-บวชชีพราหมณ์-ทอดผ้าป่า-แข่งเรือยาว
                                   ณ วัดทุ่งเว้า บ้านท่าไคร้-นาแล ตำบลนาสีนวน อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร
                                       ในวันเสาร์ที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ โดยพระอาจารย์เมสันติื คมฺภีโร
             เพื่อเป็นการแสดงถึงความเคารพศรัทธาต่อครูบูรพาจารย์ซึ่งได้ประสิทธิ์ประสาทสรรพวิทยา เมตตาสั่งสอนอบรมมา
             จึงเป็นหน้าที่ของศิษย์ที่จะต้องแสดงถึงความเคารพศรัทธาต่อคุณครูบูรพาจารย์ ยกย่องสรรเสริญท่านให้เกิยรติยศ
             ชื่อเสียงระบือไกล และเ็ป็นการบำเพ็ญบุญกุศลเพื่ออุทิศไปให้ครูบูรพาจารย์ทั้งหลาย ที่ได้ทำกาลไปสู่ปรโลกแล้ว
             จึงได้พร้อมใจกันจัดงานพิธีไหว้ครูบูรพาจารย์เพื่อระลึกถึงคุณของท่านทั้งหลายและเพื่อประกาศเกียรตินามของท่าน
             อาทิ หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก(ปลัดขิก) หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ(อักขระเลขยันต์สายสัก) ครูบาอาจารย์สายลุ่มน้ำ
             พุมดวง สุราษฎร์ธานี(หมอเส้น หมอเอ็น หมอว่าน หมอยา หมอกระดูก หมองูหมอโหราศาสตร์ ครูลาย ครูบายศรี )
             ครูบาอาจารย์สายเขาอ้อ(พิธีกรรมและคาถาว่านยา)และครูบาอาจารย์อีกมากมายที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา
                                                .........................................................
                                                        กำหนดการงานไหว้ครูบูรพาจารย์
            วันเสาร์ที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓
                       เวลา ๐๘.๓๙ น.   ทำพิธีบวงสรวงไหว้ครูบูรพาจารย์
                       เวลา ๐๙.๓๐ น.    กล่าวเปิดงานแข่งเรือยาว-ชกมวยทะเล
                       เวลา ๒๐.๐๐ น.    ทำพิธีบวชชีพราหมณ์-สวดสมโภชพระ-สวดเสริมอายุสะเดาะห์พระเคราะห์
                       เวลา ๒๔.๐๐ น. ถึงเวลา ๐๖.๐๐ น. ร่วมปฏิบัติธรรมตลอดคืน
            วันอาทิตยฺที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๓
                       เวลา ๐๘.๐๐ น.   แห่ผ้าป่ารอบพระอุโบสถและพระธาตุเจดีย์
                       เวลา ๐๙.๐๐ น.   ร่วมกันถวายผ้าป่า
                       เวลา ๐๙.๓๐ น.   สรงน้ำพระธาตุ-สรงน้ำพระ-แข่งเรือยาว-ชกมวยทะเล
          จึงขอเชิญชวนท่านทั้งหลายผู้มีจิตศรัทธา มาร่วมพิธีกรรมและปฏิบัติธรรมร่วมกันในครั้งนี้ และขอกุสลผลบุญแห่งความดี
          ที่ได้ร่วมกระทำบำเพ็ญมา จงบังเกิดมีพลานุภาพ ให้สัมฤทธิ์ผลดั่งกุศลจิตที่ท่านคิดปรารถนา โดยทั่วหน้ากัน
                           พระอาจารย์เมสันติ์ คมฺภีโร (หลวงโ่ด่ง-รวี สัจจะ)เจ้าพิธีผู้ดำเนินการ

อาจารย์โด่งครับ มีรายละเอียดของการแข่งขันเรือยาวหรือไม่คัรบ พอดี ผมทำเว็บเรือยาวอยุ่ด้วยคับ จามะเทวีลองโบท.คอม และผมขออนุญาตินำข่าวสารไปประชาสัมพันธ์ต่อในเว็บไซต์เรือยาวและเว็บวัดทุ่งเซียดด้วยนะครับ

683
รายงานความคืบหน้าด้วยรูปภาพในการจัดเตรียมสถานที่ จัดงานบวชชีพราหมณ์ บวชศีลจาริณี และเสด็จพระบก














684
รอยพระพุทธบาท ยอดเขาแก้ว วัดถ้ำเสือจังหวัดกระบี่
.
 
รอยพระพุทธบาท ตั้งอยู่บนยอดเขาแก้ว มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ ๖๐๐ เมตร สามารถขึ้นไปสักการะได้โดยขึ้นบันได ๑,๒๐๐ ขั้น บนยอดเขาสามารถมองเห็นทิวทัศน์ของเมืองกระบี่ได้รอบทิศ

ได้มีโอกาสไป ขึ้นยอดเขามาแล้วเมื่อเดือนก่อน กว่าจะขึ้น ไป ถึง 1200 ขั้น เหนือระดับน้ำทะเล ไม่ใช่เรื่องสนุกเลย ยิ่งขึ้นสูงอากาศที่จะหายใจก็ยิ่ง ลำบากขึ้น แต่ถ้ามีโอกาสก็ยังอยากไปขึ้นอีก เพราะเมื่อขึ้นไปถึงยอดเขา บรรยากาศดีมาก ๆ เลยครับ

685
เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง สำหรับ ข้อความและเนี้อหาดี  ๆ เหมาะสำหรับคนในสังคมไทยเป็นอย่างยิ่ง

686
แนะนำตัวและฝากประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ ของวัดทุ่งเซียด ด้วยครับ http://www.wattungsaid.com เพิ่งหัดทำครับ จัดทำโดยพระภิกษุในวัดทุ่งเซียดทำเองครับ กำลังเรียนรู้อยู่ยังไงก็ฝากด้วยนะครับ

วัดทุ่งเซียด ตั้งอยู่เลขที่ 41 หมู่ที่ 1 ต.ท่าโรงช้าง อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี ผมใช้ชื่อวัดเป็นชื่อล๊อคอินเลยอ่ะ ครับ





ถ้าหากมีอะไรที่กระผมทำไม่ถูกก็แนะนำตักเตือนได้นะครับ ยินดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของเว็บอย่างเคร่งครับเสมอ ตลอดเวลาครับ

ขอแสดงความเคารพ

วัดทุ่งเซียด



687
        อยากทราบว่าทางวัดมีถวายค่ายานพนะหรือเปล่าคับ
               (  มีวัตถุมงคลแจกหรือเปล่าครับอยากได้ครับ )
         ศิษย์ หลวงโด่ง

ขอเรียนชี้แจงอย่างนี้นะครับว่า
1. ที่ถามมาว่ามีค่ายานพาหนะถวายหรือไม่ ขอเรียนว่า มีครับ ถวายให้ตามเหตและปัจจัย ครับผม
2. ที่ถามมาว่ามีวัตถุมงคลแจกหรือไม่ ขอเรียนว่า ทางวัดจะพิจารณาอีกทีครับผม

688
เพิ่งจะทราบข่าวเมื่อวานนี้เหมือนกันครับ พอดี พระอาจารย์เมสันต์(อ.โด่ง) โทรมาแจ้งข่าวให้ได้รับทราบ วันที่ 20 ก.พ. จะออกเดินทางจากวัดทุ่งเซียด จ.สุราษฎร์ธานี เพื่อไปร่วมงานด้วยครับ


------------------------------------------------------------------------------------


       การจากไปของพระอาจารย์บรรทม กนฺตสีโล เจ้าอาวาสวัดเพชรน้ำผึ้งในครั้งนี้ นำมาซึ่งความเศร้าโศกเสียใจต่อคณะศิษยาณุศิษย์ พุทธบริษัท ครอบครัว ญาติมิตร ลูกหลาน      
        ขอกุศลกรรม ความดีงามทั้งมวลที่พระอาจารย์บรรทม กนฺตสีโล เจ้าอาวาสวัดเพชรน้ำผึ้งได้กระทำและสร้างสมไว้ในภพนี้ อีกทั้ง อานุภาพแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย และ ผลบุญที่ครอบครัว ญาติมิตร ตลอดจนผู้ที่รักใคร่นับถือ ได้ร่วมกันบำเพ็ญกุศลอุทิศให้ จึงเป็นพลวปัจจัยเกื้อหนุนให้บังเกิดพลานุภาพบันดาลให้ปฏิสนธิวิญญาณของพระอาจารย์บรรทม กนฺตสีโล เจ้าอาวาสวัดเพชรน้ำผึ้ง จงประสพสุคติในสัมปรายภพตลอดชั่วกาลนานเทอญ


       ขอแสดงความเสียใจกับ"คณะศิษยาณุศิษย์ พุทธบริษัท" และครอบครัว ญาติพี่น้อง ที่ได้สูญเสียบุคคนอันเป็นที่รักไปในคราวครั้งนี้


ขออนุญาตินำข่าวสารไปประชาสัมพันธ์ต่อในเว็บไซต์วัดทุ่งเซียดด้วย นะครับ

ขอบคุณมากครับ

689
ขอขอบพระคุณท่านผู้ดูแลระบบมากครับ ที่ให้โอกาสวัดเล็กๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด ให้ได้ประชาสัมพันธ์ งานประเพณี และ ข้อมูล ต่าง ๆ ของวัดเล็ก ๆ อย่างวัดทุ่งเซียด ในครั้งนี้

และที่ได้ทำผิดระเบียบกฎเกณฑ์ ของเว็บก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ ไม่ได้มีเจตนาอื่นใดเลยนอกจากการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวัดเล็ก  ๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด อย่างวัดทุ่งเซียดเท่านั้นครับ ต่อไปจะไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นอีกแล้วครับ

ถ้าหากมีอะไรที่กระผมทำไม่ถูกก็แนะนำตักเตือนได้นะครับ ยินดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของเว็บอย่างเคร่งครับเสมอ ตลอดเวลาครับ

ขอแสดงความเคารพ

วัดทุ่งเซียด

690
ขอขอบพระคุณท่านผู้ดูแลระบบมากครับ ที่ให้โอกาสวัดเล็กๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด ให้ได้ประชาสัมพันธ์ งานประเพณี และ ข้อมูล ต่าง ๆ ของวัดเล็ก ๆ อย่างวัดทุ่งเซียด ในครั้งนี้

และที่ได้ทำผิดระเบียบกฎเกณฑ์ ของเว็บก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ ไม่ได้มีเจตนาอื่นใดเลยนอกจากการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวัดเล็ก  ๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด อย่างวัดทุ่งเซียดเท่านั้นครับ ต่อไปจะไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นอีกแล้วครับ

ถ้าหากมีอะไรที่กระผมทำไม่ถูกก็แนะนำตักเตือนได้นะครับ ยินดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของเว็บอย่างเคร่งครับเสมอ ตลอดเวลาครับ

ขอแสดงความเคารพ

วัดทุ่งเซียด

691
ขอขอบพระคุณท่านผู้ดูแลระบบมากครับ ที่ให้โอกาสวัดเล็กๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด ให้ได้ประชาสัมพันธ์ งานประเพณี และ ข้อมูล ต่าง ๆ ของวัดเล็ก ๆ อย่างวัดทุ่งเซียด ในครั้งนี้

และที่ได้ทำผิดระเบียบกฎเกณฑ์ ของเว็บก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ ไม่ได้มีเจตนาอื่นใดเลยนอกจากการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของวัดเล็ก  ๆ ที่อยู่ต่างจังหวัด อย่างวัดทุ่งเซียดเท่านั้นครับ ต่อไปจะไม่เกิดเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นอีกแล้วครับ

ถ้าหากมีอะไรที่กระผมทำไม่ถูกก็แนะนำตักเตือนได้นะครับ ยินดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของเว็บอย่างเคร่งครับเสมอ ตลอดเวลาครับ

ขอแสดงความเคารพ

วัดทุ่งเซียด

692
แนะนำตัวและฝากประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ ของวัดทุ่งเซียด ด้วยคับ http://www.wattungsaid.com เพิ่งหัดทำครับ จัดทำโดยพระภิกษุในวัดทุ่งเซียดทำเองครับ กำลังเรียนรู้อยู่ยังไงก็ฝากด้วยนะครับ




693
04 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ถ่ายภาพอุโบสถศิลปศรีวิชัยแห่งแรกของประเทศไทย วัดทุ่งเซียด











694

มณฑปพระพุทธรัตนปกป้องไทย



ลานหินโค้ง จำลองของวัดทุ่งเซียด ใช้ในการประกอบพิธีสำคัญ ๆ ในวันสำคัญ ต่าง ๆ ทางศาสนา



ศาลา หอฉัน ของวัดทุ่งเซียด



รูปจำลองพญางูเห่าดง ภายในเจดีย์หลังอุโบสถหลังเก่าวัดทุ่งเซียด



ก้อนอิฐโบราณที่ขุดได้บริเวณที่สร้างเจดีย์คร่อมไว้ และเป็นมวลสารหลักในการทำวัตถุมงคลของวัดทุ่งเซ๊ยด



ห้องสมุดประชาชนซึ่งตั้งอยู่ในวัดทุ่งเซียด และยังเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ชุมชน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนตำบลท่าโรงช้างด้วย

695

อุโบสถหลังเก่าของวัดทุ่งเซียด ปัจจุบันยังใช้การอยู่


อุโบสถหลังใหม่ของวัดทุ่งเซียด เป็นอุโบสถกลางน้ำศิลปศรีวิชัย อยู่ในระหว่างการก่อสร้างยังไม่ได้เปิดอย่างเป็นทางการที(ฝังลูกนิมิต)



มณฑปพ่อท่านเซียด(อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด) สถานที่ประดิษฐานรูปเหมือนองค์อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งเซียด หรือ ในนามของพ่อท่านเซียด



รูปปั้นพญาช้างดำ ช้างคู่บรมีของพ่อท่านเซียด(องค์อดีตเจ้าอาวสวัดทุ่งเซียด) เป็นช้างใหญ่ ตามตำนานมีรอยเท้าเส้นผ่านศูนย์กลางกว้างเป็นเมตร



เจดีย์มหาสมบัติโบราณ ตั้งอยู่ที่หลังอุโบสถหลังเก่าวัดทุ่งเซียด

696
สถานที่ต่าง ๆ ภายในวัดทุ่งเซียด

ปริศนาธรรม ก็ เพราะแกนโลกมันเอียง ทำให้ ป้ายวัดเอียง ถ้าเมื่อไหร่คนใจตรงและเที่ยงธรรม ก็จะทำให้ป้ายวัดตรงได้เอง..



ประตูสู่เส้นทางธรรมะ แห่งวัดทุ่งเซียด


ต้นศรีมหาโพธิ์ แห่งวัดทุ่งเซียด


กุฎีเจ้าอาวาส และ ถนน หน้ากุฎี


กุฎีเจ้าพระสงฆ์ หลัง น้อย ๆ


กุฎีเจ้าพระสงฆ์ หลัง น้อย ๆ เป็น ทิวแถว

697


วัดทุ่งเซียด ตั้งอยู่เลขที่ 41 บ้านทุ่งเซียด ถนนพุนพิน – พระแสง หมู่ที่ 1 ตำบลท่าโรงช้าง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 30 ไร่ ส.ค. 1 เลขที่ 169 อาณาเขต ทิศเหนือจดคลองเซียด ทิศใต้จดทางสาธารณะ ทิศตะวันออกจดพรุน้ำ ทิศตะวันตกจดทางสาธารณะ

อาคารเสนาสนะ
  • ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 8.50 เมตร ยาว 15.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2510 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
  • ศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2538 เป็นอาคารทรงไทยชั้นเดียว
  • กุฎิสงฆ์ จำนวน 13 หลัง เป็นอาคารไม้ 10 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลัง และตึก 1 หลัง
  • ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 14 เมตร ยาว 29 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2515
  • ศาลาบำเพ็ญกุศล จำนวน 1 หลัง
  • นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน หอระฆัง โรงครัว เรือนเก็บพัสดุ และเรือนรับรอง
       
ปูชนียะวัตถุ
  • มีพระประธานประจำอุโบสถ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 85 นิ้ว สูง 109 นิ้ว
  • พระประธานประจำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 51 นิ้ว สูง 81 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2543

วัดทุ่งเซียด ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2410 เดิมเคยเจริญรุ่งเรืองมาก่อน แต่เมื่อพม่าตีกรุงศรีอยุธยาแตกแล้วก็เก็บเอาของมีค่าไปพร้อมทั้งเผาวัดทำให้ไม่มีหลักฐานอะไรเหลืออยู่ คงเหลือแต่ซากอิฐปรักหักพัง เช่น เสาหงส์ เป็นต้น ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2512 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 29 เมตร ยาว 39 เมตร


การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม คือ
  • รูปที่ 1  พระเซียด   พ.ศ. 2410 – 2425
  • รูปที่ 2  พระรวย   พ.ศ. 2427 – 2436
  • รูปที่ 3  พระพัฒน์   พ.ศ. 2437 – 2438
  • รูปที่ 4  พระสน   พ.ศ. 2439 – 2441
  • รูปที่ 5  พระแดง   พ.ศ. 2442 – 2473
  • รูปที่ 6  พระเกษม   พ.ศ. 2474 – 2483
  • รูปที่ 7  พระแดง   พ.ศ. 2484 – 2493
  • รูปที่ 8  พระบุญ   พ.ศ. 2497 – 2503
  • รูปที่ 9  พระดำ   พ.ศ. 2504 – 2512
  • รูปที่ 10 พระครูสมุห์ติ้ง   สจจวาโร  พ.ศ. 2513 – 2525
  • รูปที่ 11 พระครูสังฆรักษ์  ประสงค์  พ.ศ. 2526 – 2531
  • รูปที่ 12 พระครูสารโสตถิคุณ  พ.ศ. 2532 – ปัจจุบัน

การศึกษามีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2532 โรงเรียนผู้ใหญ่วัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2540

สอบถามรายละเอียดเพิ่งเติมได้ที่

หน้า: [1]