ผู้เขียน หัวข้อ: ความเมตตาในพระไตรปิฎก ส่งผลถึง ๑๑ ประการ  (อ่าน 1408 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ นายธรรมะ

  • ดีชั่วอยู่ที่ตัวทํา สูงต่ำอยู่ที่ทําตัว
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 615
  • เพศ: ชาย
  • เหนื่อย ได้แต่อย่า ท้อ
    • ดูรายละเอียด
ในพุทธศาสนา อานิสงค์ของความ เมตตามีกล่าวไว้หลายแห่งในพระไตรปิฎก
โดยมีผลถึง ๑๑ ประการคือ

๑. หลับเป็นสุข

๒. ตื่นเป็นสุข

๓. ไม่ฝันร้าย

๔. เป็นที่รักของมนุษย์

๕. เป็นที่รักของอมนุษย์

๖. เทวดาย่อมรักษา

๗. ไฟ ยาพิษ ศาสตรา ย่อมไม่กล้ำกลาย

๘. จิตตั้งมั่นได้รวดเร็ว

๙. ผิวหน้าผ่องใส

๑๐. ไม่หลงตาย( มีสติ เมื่อตอนตาย )

๑๑. เมื่อล่วงลับไปแล้ว ถ้ายังมิได้บรรลุธรรมอันยิ่งขึ้นไป
ย่อมเข้าถึงพรหมโลก


พระวินัยปิฎก ๘/๑๐๐๔



เมตตา แปลว่า ความปรารถนาให้เป็นสุข เป็นธรรมมะที่ทำลายความโกรธได้โดยตรง
จัดเป็นธรรมมะอยู่ใน พรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา ( ปรารถนาให้เป็นสุข )
กรุณา ( ความปรารถนาให้พ้นทุกข์ ) มุทิตา ( พลอยยินดี )
และ อุเบกขา ( วางใจเป็นกลาง )



ศาสนาพุทธสอนว่า ธรรมมะหมวดนี้ เป็นคุณธรรมที่มีอยู่ในพรหม
และเมื่อทำให้มาก ก็จะนำไปสู่การเป็นพระพรหม
อานิสงค์ของการเจริญเมตตา เป็นประจำมีอยู่มากมาย
และความเมตตาทำให้เราชนะความโกรธ
ทำให้มีการให้ทาน และทำให้มีการให้อภัยทาน คือยกโทษให้กันได้อีกด้วย
ผู้ที่มีเมตตา จะเสมือน มีศีล อยู่ในตนเอง
เพราะเขาจะไม่ทำร้ายใครอื่นเลย
เนื่องจาก ปรารถนาให้ทุกคนมีความสุขนั่นเอง

ขอบขอบคุณข้อมูลดีๆจากเว็บพลังจิต
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 17 ก.ย. 2553, 08:56:56 โดย โองการยันนะรังสี »
[shake]ศรัทธา ไม่ใช่ ไสยศาสตร์ ศรัทธา เพื่อ ศักดิ์สิทธิ์ เมื่อมีความ ศักดิ์สิทธิ์ ย่อมเกิด ปาฏิหาริย์[/shake]

ออฟไลน์ ZitLuangPor

  • ปัญจมะ
  • *****
  • กระทู้: 152
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงพ่อ
    • MSN Messenger - SAWUNLUMM@hotmail.com
    • ดูรายละเอียด
ขอบคุณสำหรับบทความดีๆนะครับ
 :016:  ^^
วาจาสิทธิ์ หลวงพ่อเปิ่น "ห้ามนำสิ่งที่ให้ไปประกอบกรรมทำชั่วเด็ดขาด และห้ามลองวิชาอย่างพร่ำเพรื่อ จะใช้ได้ก็เมื่อถึงคราวจำเป็เท่านั้น"[/i

ออฟไลน์ pepsi

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 325
  • เพศ: ชาย
  • ทําดี คิดดี พูดดี
    • ดูรายละเอียด
    • http://sbntown.com/forum/group.php?groupid=33
[bgcolor=#0075FF][bgcolor=#0075FF]ขอบคุณครับ ทั้งรูปภาพที่เข้าถึงอารมณ์คําสอน และบทความดีๆครับ[/bgcolor][/bgcolor]
กาลเวลาเป็นเครื่องชี้ตัวตนแห่งคน