ผู้เขียน หัวข้อ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ  (อ่าน 16015 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Surat100%

  • ทุติยะ
  • **
  • กระทู้: 3
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
สวัสดีครับสมาชิกทุก ๆ คน
ผมเป็นสมาชิกใหม่ครับ
มีอะไรก็ช่วยชี้แนะด้วยครับ

ผมอยากทราบว่า... 
เพื่อน ๆ พี่ ๆ สมาชิกท่านใดสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ

ออฟไลน์ @แปดเศียร@

  • ปัญจมะ
  • *****
  • กระทู้: 106
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: 16 ก.ย. 2552, 07:17:25 »
ผมสวดครับสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกก่อน

แล้วสวดมหากา แล้วก็คาถาชินบันชรครับ
แหะๆ  :002:

ออฟไลน์ Surat100%

  • ทุติยะ
  • **
  • กระทู้: 3
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: 16 ก.ย. 2552, 07:20:22 »
ขอบคุณครับ
ผมสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก
แล้วก็คาถาชินบัญชร เหมือนกันครับ

ออฟไลน์ yout

  • อัฏฐมะ
  • ***
  • กระทู้: 1742
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: 16 ก.ย. 2552, 07:57:17 »
หาในกระทู้เก่าน่าจะมีนะครับ :114: :114: :114:

ออฟไลน์ Lizm Club

  • “The one thing you cannot teach a person is COMMON SENSE.”
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 309
  • เพศ: หญิง
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: 17 ก.ย. 2552, 02:40:35 »
สวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกเหมือนกันค่ะแต่สวดเฉพาะวันพระกับวันกินเจ.......... :009: :009: :009:
"ก่อนทีท่านจะว่าผู้อื่น ลองหันมองดูตัวเองก่อนเถิดว่าตัวเองนั้นเป็นเช่นไร ถ้าเราไม่ได้ดีกว่าเขาก็อย่าว่าเขาเลย".......

TUM

  • บุคคลทั่วไป
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: 17 ก.ย. 2552, 03:09:45 »
บทสวดมนต์ พระ คาถา ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก
พิธี ไหว้พระ และ สวดยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก

ก่อน เข้าห้องบูชาพระ ควรอาบน้ำ ชำ ระ ร่างกาย ให้สะ อาด และ นุ่งห่ม ให้ เรียบร้อย เข้านั่งที่ด้วยความสำ รวมกาย ใจ ตั้งจิต ให้ แน่ว แน่ เพ่งตรงยังพระ พุทธรูป ระ ลึกถึงพระ รัตนตรัย ค่อยกราบ ๓ หน แล้วสงบจิตระ ลึกถึงพระ คุณของบิดามารดา ซึ่ง เป็นพระ อรหันต์ ของบุตร จากนั้นจึงจุด เทียนบูชา ให้จุด เล่มด้านขวาของพระ พุทธรูปก่อน แล้วจุด เล่มด้านซ้ายต่อ ไป จุดธูป ๓ ดอก เมื่อจุด เทียนธูปที่ เครื่องสักการบูชา เสร็จ แล้ว เอาจิต (นึก เห็น) พระ พุทธองค์ มา เป็นประ ธาน พึงนั่ง ชายพึงนั่งคุก เข่า หญิงนั่งท่า เทพนม ประ นมมือ ตั้ง ใจบูชาพระ รัตนตรัย นมัสการพระ รัตนตรัย นมัสการพระ พุทธ เจ้า ไตรสรณคมน์ และ นมัสการพระ พุทธคุณ พระ ธรรมคุณ พระ สังฆคุณ แล้วจึง เจริญภาวนายอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก จะ เพิ่มความขลัง และ ความศักดิ์ สิทธิ์ ยิ่งขึ้น จะ เกิดพลังจิต และ มีความมั่นคง ในชีวิต พึงทราบด้วยว่า การ เจริญภาวนาทุกครั้งต้องอยู่ ในสถานที่อันสมควร ขอ ให้ทำ จิตตั้งมั่น ในบทสวดมนต์ จะ มี เทพยดาอารักษ์ ทั้งหลายร่วมอนุ โมทนาสาธุการขออย่า ได้ทำ เล่น จะ เกิด โทษ แก่ตน เอง
ยิ่ง ทำ ยิ่ง ได้ ยิ่ง ให้ ยิ่ง มี
คำ บูชาพระ รัตนตรัย
โย โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง สัมมาสัมพุท โธ
อิ เมหิ สักกา เรหิ , ตัง ภะ คะ วันตัง อะ ภิปูชะ ยามิ
โย โส สวากขา โต ภะ คะ วะ ตา ธัม โม
อิ เมหิ สักกา เรหิ , ตัง ธัมมัง อะ ภิปูชะ ยามิ
โย โส สุปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ
อิ เมหิ สักกา เรหิ , ตัง สังฆัง อะ ภิปูชะ ยามิ
คำ นมัสการพระ รัตนตรัย
อะ ระ หัง สัมมาสัมพุท โธ ภะ คะ วา
พุทธัง ภะ คะ วันตัง อะ ภิวา เทมิ (กราบ ๑ หน)
สวากขา โต ภะ คะ วะ ตา ธัม โม
ธัมมัง นะ มัสสามิ (กราบ ๑ หน)
สุปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ
สังฆัง นะ มามิ (กราบ ๑ หน)
คำ นมัสการพระ พุทธ เจ้า
นะ โม ตัสสะ ภะ คะ วะ โต อะ ระ หะ โต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะ โม ตัสสะ ภะ คะ วะ โต อะ ระ หะ โต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะ โม ตัสสะ ภะ คะ วะ โต อะ ระ หะ โต สัมมาสัมพุทธัสสะ
คำ นมัสการ ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ตะ ติยัมปิ พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ตะ ติยัมปิ ธัมมัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ตะ ติยัมปิ สังฆัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
คำ นมัสการพระ พุทธคุ ณพระ ธรรมคุณ พระ สังฆคุณ
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง สัมมาสัมพุท โธ วิชชาจะ ระ ณะ สัมปัน โน สุคะ โต โลกะ วิทู อะ นุตตะ โร ปุริสะ ทัมมะ สามระ ถิ สัตถา เทวะ มะ นุสสานัง พุท โธ ภะ คะ วาติ ฯ
สวากขา โต ภะ คะ วะ ตา ธัม โม สันทิฏฐิ โก อะ กาลิ โก เอหิปัสสิ โก โอปะ นะ ยิ โก ปัจจัตตัง เวทิตัพ โพ วิญญูหีติ ฯ
สุปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ อุชุปะ ฎิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ ญายะ ปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต
สาวะ กะ สัง โฆ สามีจิปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ ยะ ทิทัง จัตตาริ ปุริสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะ ปุคคะ ลา เอสะ ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ อาหุ เนย โย ปาหุ เนย โย ทักขิ เณย โย อัญชะ ลี กะ ระ ณี โย อะ นุตตะ รัง ปุญญัก เขตตัง โลกัสสาติ ฯ
ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก ต้นฉบับ เดิม
๑.
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา สัมมาสัมพุท โธ วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา วิชชาจะ ระ ณะ สัมปัน โน วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา สุคะ โต วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา โลกะ วิทู วัจจะ โส ภะ คะ วา
๒.
อะ ระ หัง ตัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
อะ ระ หัง ตัง สิระ สา นะ มามิ
สัมมาสัมพุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
สัมมาสัมพุทธัง สิระ สา นะ มามิ
วิชชาจะ ระ ณะ สัมปันนัง สิระ สา นะ มามิ
สุคะ ตัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
สุคะ ตัง สิระ สา นะ มามิ
โลกะ วิทัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
โลกะ วิทัง สิระ สา นะ มามิ
๓.
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ นุตตะ โร วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา ปุริสะ ธัมมะ สาระ ถิ วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา สัตถา เทวะ มะ นุสสานัง วัจจะ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา พุท โธ วัจจะ โส ภะ คะ วา
๔.
อะ นุตตะ รัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
อะ นุตตะ รัง สิระ สา นะ มามิ
ปุริสะ ทัมมะ สาระ ถิ สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ปุริสะ ทัมมะ สาระ ถิ สิระ สา นะ มามิ
สัตถา เทวะ มะ นุสสานัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
สัตถา เทวะ มะ นุสสานัง สิระ สา นะ มามิ
พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
พุทธัง สิระ สา นะ มามิ
๕.
อิติปิ โส ภะ คะ วา รูปะ ขัน โธ อะ นิจจะ ลักขะ ณะ ปาระ มี จะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา เวทะ นาขัน โธ อะ นิจจะ ลักขะ ณะ ปาระ มี จะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา สัญญาขัน โธ อะ นิจจะ ลักขะ ณะ ปาระ มี จะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา สังขาระ ขัน โธ อะ นิจจะ ลักขะ ณะ ปาระ มี จะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา
อิติปิ โส ภะ คะ วา วิญญาณะ ขัน โธ อะ นิจจะ ลักขะ ณะ ปาระ มี จะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา
๖.
อิติปิ โส ภะ คะ วา ปะ ถะ วีจักกะ วาฬะ จาตุมะ หาราชิกา ตาวะ ติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา เต โชจักกะ วาฬะ จาตุมะ หาราชิกา ตาวะ ติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา วา โยจักกะ วาฬะ จาตุมะ หาราชิกา ตาวะ ติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อา โปจักกะ วาฬะ จาตุมะ หาราชิกา ตาวะ ติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อากาสะ จักกะ วาฬะ จาตุมะ หาราชิกา ตาวะ ติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๗.
อิติปิ โส ภะ คะ วา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา นิมมานะ ระ ติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา กามาวะ จะ ระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๘.
อิติปิ โส ภะ คะ วา รูปาวะ จะ ระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา ปะ ฐะ มะ ฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา ทุติยะ ฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา ตะ ติยะ ฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา จะ ตุตถะ ฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา ปัญจะ มาฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๙.
อิติปิ โส ภะ คะ วา อากาสานัญจายะ ตะ นะ เนวะ สัญญานา
สัญญายะ ตะ นะ อะ รูปาวะ จะ ระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา วิญญาณัญจายะ ตะ นะ เนวะ สัญญานา
สัญญายะ ตะ นะ อะ รูปาวะ จะ ระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อากิญจัญญายะ ตะ นะ เนวะ สัญญานา
สัญญายะ ตะ นะ อะ รูปาวะ จะ ระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๑๐.
อิติปิ โส ภะ คะ วา โสตาปะ ฏิมัคคะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา สะ กิทาคาปะ ฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ นาคาปะ ฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัตตะ ปะ ฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๑๑.
อิติปิ โส ภะ คะ วา โสตาอะ ระ หัตตะ ปะ ฏิผะ ละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา สะ กิทาคาอะ ระ หัตตะ ปะ ฏิผะ ละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ นาคาอะ ระ หัตตะ ปะ ฏิผะ ละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปัน โน
๑๒.
กุสะ ลา ธัมมา
อิติปิ โส ภะ คะ วา
อะ อา ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ชมภูทีปัญจะ อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
นะ โม พุทธายะ
นะ โม ธัมมายะ
นะ โม สังฆายะ
ปัญจะ พุทธา นะ มามิหัง
อา ปา มะ จุ ปะ
ที มะ สัง อัง ขุ
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ
โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ
เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ
อิ สวา สุ สุ สวา อิ
กุสะ ลา ธัมมา
จิตติวิอัตถิ
๑๓.
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง
อะ อา ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
สา โพธิ ปัญจะ อิสาะ โร ธัมมา
๑๔.
กุสะ ลา ธัมมา
นันทะ วิวัง โก
อิติ สัมมาพุท โธ
สุ คะ ลา โน ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
จาตุมะ หาราชิกา อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
อิติ วิชชาจะ ระ ณะ สัมปัน โน
อุ อุ ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ตาวะ ติงสา อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
นันทะ ปัญจะ สุคะ โต โลกะ วิทู
มะ หา เอ โอ ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
ยามา อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
พรหมมาสัททะ
ปัญจะ สัตตะ
สัตตาปาระ มี
อะ นุตตะ โร
ยะ มะ กะ ขะ
ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
๑๕.
ตุสิตา อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
ปุ ยะ ปะ กะ
ปุริสะ ทัมมะ สาระ ถิ
ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
๑๖.
นิมมานะ ระ ติ อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
เหตุ โปวะ
สัตถา เทวะ มะ นุสสานัง
ตะ ถา ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
๑๗.
ปะ ระ นิมมิตะ อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
สังขาระ ขัน โธ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา
รูปะ ขัน โธ พุทธะ ปะ ผะ
ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
๑๘.
พรหมมา อิสสะ โร
กุสะ ลา ธัมมา
นัจจิปัจจะ ยา วินะ ปัญจะ ภะ คะ วะ ตา ยาวะ นิพพานัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
นะ โม พุทธัสสะ
นะ โม ธัมมัสสะ
นะ โม สังฆัสสะ
พุทธิลา โลกะ ลา กะ ระ กะ นา
เอ เตนะ สัจ เจนะ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะ วาหายะ ฯ
๑๙.
นะ โม พุทธัสสะ นะ โม ธัมมัสสะ นะ โม สังฆัสสะ
วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
อัตติ อัตติ มะ ยะ สุ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะ วาหายะ
๒๐.
อินทะ สาวัง มะ หาอินทะ สาวัง
พรหมะ สาวัง มะ หาพรหมะ สาวัง
จักกะ วัตติสาวัง มะ หาจักกะ วัตติสาวัง
เทวาสาวัง มะ หา เทวาสาวัง
อิสิสาวัง มะ หาอิสิสาวัง
มุนีสาวัง มะ หามุนีสาวัง
สัปปุริสาวัง มะ หาสัปปุริสาวัง
พุทธะ สาวัง ปัจ เจกะ พุทธะ สาวัง
อะ ระ หัตตะ สาวัง สัพพะ สิทธิวิชชาธะ รานังสาวัง สัพพะ โลกา
อิริยานังสาวัง เอ เตนะ สัจ เจนะ สุวัตถิ โหตุ
๒๑.
สาวัง คุณัง วะ ชะ พะ ลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง
โมกขัง คุยหะ กัง
ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะ ยัง ตัปปัง สุขัง
สิริรูปัง จะ ตุวีสะ ติ เสนัง
เอ เตนะ สัจ เจนะ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะ วาหายะ
๒๒.
นะ โม พุทธัสสะ นะ โม ธัมมัสสะ นะ โม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา รูปะ ขัน โธ เวทะ นาขัน โธ
สัญญาขัน โธ สังขาระ ขัน โธ วิญญาณะ ขัน โธ
นะ โม อิติปิ โส ภะ คะ วา
๒๓.
นะ โม พุทธัสสะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา รูปะ ขัน โธ เวทะ นาขัน โธ
สัญญาขัน โธ สังขาระ ขัน โธ วิญญาณะ ขัน โธ
นะ โม สวากขา โต ภะ คะ วะ ตา ธัม โม
๒๔.
นะ โม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา รูปะ ขัน โธ เวทะ นาขัน โธ
สัญญาขัน โธ สังขาระ ขัน โธ วิญญาณะ ขัน โธ
นะ โม สวากขา โต ภะ คะ วะ ตา ธัม โม
๒๕.
นะ โม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา รูปะ ขัน โธ เวทะ นาขัน โธ
สัญญาขัน โธ สังขาระ ขัน โธ วิญญาณะ ขัน โธ
นะ โม สุปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ
๒๖.
นะ โม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา รูปะ ขัน โธ เวทะ นาขัน โธ สัญญาขัน โธ
สังขาระ ขัน โธ วิญญาณะ ขัน โธ
นะ โม สุปะ ฏิปัน โน ภะ คะ วะ โต สาวะ กะ สัง โฆ วาหะ ปะ ริตตัง
๒๗.
นะ โม พุทธายะ
มะ อะ อุ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา
ยาวะ ตัสสะ หา โย
นะ โม อุอะ มะ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา
อุ อะ มะ อาวันทา
นะ โม พุทธายะ
นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ
อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ
ทุกขัง อะ นิจจัง อะ นัตตา
พระ คาถายอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก ( แปล)

๑. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้ ไกลจากกิ เลส
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้ เอง โดยชอบ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้ และ ความประ พฤติ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้ เสด็จ ไปดี แล้ว
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้รู้ แจ้ง โลก

๒. ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ เป็นพระ อรหันต์ ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ เป็นพระ อรหันต์ ด้วย เศียร เกล้า
ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ทรงตรัสรู้ เอง โดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ทรงตรัสรู้ เอง ด้วย เศียร เกล้า
ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้ และ ความประ พฤติ ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ถึงพร้อมด้วย
ความรู้ และ ความประ พฤติ ด้วย เศียร เกล้า ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ เสด็จ ไปดี แล้ว ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์
ผู้ เสด็จ ไปดี แล้ว ด้วย เศียร เกล้า ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้รู้ แจ้ง โลก ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้รู้ แจ้ง โลก ด้วย เศียร เกล้า

๓. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นอนุตตะ โร คือ ยอด เยี่ยม
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นศาสดาของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้งหลาย
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิ เลส

๔. ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ยอด เยี่ยม ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ยอด เยี่ยม ด้วย เศียร เกล้า
ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วย เศียร เกล้า ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ เป็นศาสดาของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้งหลาย ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ เป็น
ศาสดาของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้งหลาย ด้วย เศียร เกล้า
ข้าพ เจ้าขอถึงพระ องค์ ผู้ตื่นจากกิ เลส ว่า เป็นที่พึ่งกำ จัดภัย ได้จริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ องค์ ผู้ตื่นจากกิ เลส ด้วย เศียร เกล้า

๕. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระ บารมีถึงพร้อม แล้ว
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เวทนาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระ บารมีถึงพร้อม แล้ว
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระ บารมีถึงพร้อม แล้ว
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระ บารมีถึงพร้อม แล้ว
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น วิญญาณขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระ บารมีถึงพร้อม แล้ว

๖. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา และ ชั้นดาวดึงส์
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา และ ชั้นดาวดึงส์
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา และ ชั้นดาวดึงส์
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ น้ำ จักรวาล เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา และ ชั้นดาวดึงส์
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา และ ชั้นดาวดึงส์

๗. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ สวรรค์ ชั้นยามา
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ สวรรค์ ชั้นดุสิต
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ สวรรค์ ชั้นนิมมานรดี
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ อัน เป็น ไป ในกามาวจรภูมิ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ อัน เป็น ไป ในรูปาวจรภูมิ

๘. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ตติยญาน
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน

๙. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ อัน เป็น ไป ในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ อัน เป็น ไป ในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ อัน เป็น ไป ในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะ และ เนวสัญญานาสัญญายตนะ

๑๐. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ โสดาปัตติมรรค
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ สกิทาคามิมรรค
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ อนาคามิมรรค
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ อรหัตตมรรค

๑๑. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ โสดาปัตติผล และ พระ อรหัตตผล
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ สกิทาคามิผล และ พระ อรหัตตผล
พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่ เป็นธาตุ คือ พระ อนาคามิผล และ พระ อรหัตตผล

๑๒. ธรรมะ ฝ่ายกุศล พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้า ผู้ เป็นอิสสระ แห่งชมภูทวีป
ธรรมะ ฝ่ายกุศล ขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ ธรรม เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ สังฆ เจ้า
ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้าห้าพระ องค์ ด้วยหัว ใจพระ วินัยปิฎก ด้วยหัว ใจพระ สุตตันตปิฎก ด้วยหัว ใจพระ อภิธรรมปิฎก
ด้วยมนต์ คาถา ด้วยหัว ใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัว ใจพระ เจ้าสิบชาติทรง แสดงการบำ เพ็ญบารมีสิบ
ด้วยหัว ใจพระ พุทธคุณ เก้า ด้วยหัว ใจพระ ไตรรัตนคุณ ธรรมะ ฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร

๑๓. พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้านั้น เป็นผู้ ไกลจากกิ เลส ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

๑๔. ธรรมะ ฝ่ายกุศล ของผู้มีพระ ภาค เจ้า เป็นผู้ตรัสรู้ เอง โดยชอบ ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึง เทว โลกชั้นจาตุมหาราชิกา
ธรรมะ ฝ่ายกุศล พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้ และ ความประ พฤติ ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นดาวดึงส์
ธรรมะ ฝ่ายกุศล พระ พุทธ เจ้า เป็นผู้ เสด็จ ไปดี แล้ว เป็นผู้รู้ แจ้ง โลก ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นยามา
ธรรมะ ฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระ พรหม ด้วยพระ บารมีอันยอด เยี่ยมของพระ โพธิสัตว์ ทั้งห้า ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

๑๕. ธรรมะ ฝ่ายกุศล พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้า ผู้ เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นดุสิต

๑๖. ธรรมะ ฝ่ายกุศล พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้า พระ องค์ ผู้ เป็นศาสดาของ เทวดา และ มนุษย์ ทั้งหลาย ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นนิมมานรดี

๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระ ผู้มีพระ ภาค เจ้า เป็นผู้รู้ แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของ ไม่ เที่ยง เป็นความทุกข์ มิ ใช่ เป็นตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี

๑๘. ธรรมะ ฝ่ายกุศล ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้า ว่า เป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระ ถึงสวรรค์ ชั้นพรหม โลก ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ ธรรม เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ สังฆ เจ้า ด้วยคำ สัตย์ ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมี แก่ข้าพ เจ้าด้วย เถิด ข้าพ เจ้าขอถึงพระ พุทธ เจ้าว่า เป็นที่พึ่งตราบ เข้าสู่พระ นิพพาน

๑๙. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ ธรรม เจ้า ขอนอบน้อม แด่พระ สังฆ เจ้า ด้วยการสวดมนต์ พระ คาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมี แก่ข้าพ เจ้าด้วย เถิด

๒๐. ด้วยการสวดพระ คาถามหาทิพมนต์ นี้ และ ด้วยการกล่าวคำ สัตย์ ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมี แก่ข้าพ เจ้าด้วย เถิด

๒๑. ด้วยการสวดพระ คาถามหาทิพมนต์ นี้ และ ด้วยการกล่าวคำ สัตย์ ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมี แก่ข้าพ เจ้าด้วย เถิด

๒๒. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ผู้ เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่ เที่ยง มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ ผู้มีพระ ภาค เจ้าพระ องค์ นั้น

๒๓. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ผู้ เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่ เที่ยง มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ ธรรม ที่พระ พุทธ เจ้าตรัส ไว้ดี แล้ว

๒๔. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ ธรรม เจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่ เที่ยง มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ ธรรมที่พระ พุทธ เจ้าตรัส ไว้ดี แล้ว

๒๕. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ ธรรม เจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่ เที่ยง มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ สงฆ์ สาวกของพระ พุทธ เจ้า ผู้ปฏิบัติดี แล้ว

๒๖. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ สังฆ เจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่ เที่ยง มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอนอบน้อมพระ สงฆ์ สาวกของพระ พุทธ เจ้า ผู้ปฏิบัติดี แล้ว

๒๗. ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ด้วยคำ สอนของ พระ พุทธ พระ ธรรม พระ สงฆ์ ความ ไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง ข้าพ เจ้าขอกราบ ไหว้พระ พุทธ พระ ธรรม พระ สงฆ์ ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้า ด้วยพระ ธรรมคำ สั่งสอน ความ ไม่ เที่ยง เป็นทุกข์ มิ ใช่ตัวตนของ เราจริง
 
คำ กรวดน้ำ ของยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก
อิมินา ปุญญะ กัม เมนะ
ด้วย เดชะ ผลบุญของข้าพ เจ้า ได้สร้าง และ สวดยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎกนี้ ขอ ให้ค้ำ ชู อุดหนุน คุณบิดามารดา พระ มหากษัตริย์ ผู้มีพระ คุณ ญาติกา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ เจ้ากรรมนาย เวร มิตรรักสนิท เพื่อนสรรพสัตว์ น้อย ใหญ่ พระ ภูมิ เจ้าที่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระ ธรณี แม่พระ คงคา แม่พระ โพสพ พญายมราช นายนิริยบาล ท้าวจะ ตุ โลกะ บาลทั้งสี่ ศิริคุตอำ มาตย์ ชั้นจาตุมมะ หาราชิกา เบื้องบน สูงสุดจนถึงภวัคคะ พรหม และ เบื้องล่างต่ำ สุด ตั้ง แต่ โลกันตมหานรก และ อ เวจีขึ้นมา จนถึง โลกมนุษย์ สุดรอบขอบจักรวาล อนันตจักรวาล คุณพระ ศรีรัตนตรัย และ เทพยดาทั้งหลาย ตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยมยักษ์ คนธรรพ์ นาคา พระ เพลิง พระ พาย พระ พิรุณ ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ ขอ ให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ ได้สุขขอ ให้ ได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้น ไป ด้วย เดชะ ผลบุญ แห่งข้าพ เจ้าอุทิศ ให้ ไปนี้ จง เป็นอุปนิสัยปัจจัย ให้ถึงพระ นิพพาน ในปัจจุบัน และ อนาคตกาล เบื้องหน้า โน้น เทอญ ฯ
พุทธัง อะ นันตัง ธัมมัง จักกะ วาลัง สังฆัง นิพพานะ ปัจจะ โย โหนตุ. โบ
ราณว่าผู้ ใดสร้างบุญกุศล และ ได้สวดภาวนายอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก เป็นประ จำ จะ มีอานิสงส์ มาก เมื่อป่วยหนัก ให้ระ ลึกถึงคุณพระ รัตนตรัย ครั้นกำ ลังจะ สิ้น ใจผู้อยู่ ใกล้บอกนำ ว่า อะ ระ หัง หรือ พุท โธ เรื่อย ๆ เมื่อถึง แก่กรรม จง เขียน จิ. เจ. รุ. นิ. บน แผ่นทองหรือ แผ่น เงิน ใบลาน, กระ ดาษ แล้วม้วน เป็นตะ กรุด (ห้ามคลี่) ใส่ปาก ให้ ไปสู่สุคติ ในสัมปรายภพสวรรค์ ด้วย
อานิสงส์ การสร้าง และ สวดยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก เป็นธรรมทาน
โบราณท่านว่า ผู้ ใด ได้พบยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎกนี้ แล้ว ท่านว่า เป็นบุญตัวอันประ เสริฐนัก เมื่อพบ แล้ว ให้พยายามท่องบ่นสวดภาวนาอยู่ เป็นนิตย์ ตราบ เท่าชีวิต จนทำ ลายขันธ์ จากมนุษย์ โลก แล้วก็จะ ไปยัง เกิด ในสัมปรายภพสวรรค์ สุคติภพด้วยพระ อานิสงส์ เป็น แน่ แท ้ ถ้าผู้ ใดจะ สวดขออานุภาพ ให้ผู้ป่วย ไข้อาการจะ ดีขึ้น จะ สวด แผ่กุศลอุทิศ ไป ให้ บิดา มารดา หรือครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์ ผู้มีพระ คุณของท่าน แล้ว ให้ เขียน จิ เจ รุ นิ และ ชื่อท่านนั้น ๆ ใส่กระ ดาษก่อนสวดทุกครั้ง เมื่อสวดกี่จบครบตามที่ เราต้องการ แล้ว ให้นำ กระ ดาษนั้น เผา ไฟ และ กรวดน้ำ โดยคารวะ บอกชื่อฝากพระ แม่ธรณีนำ กุศลอันนี้ ให้ท่านผู้นั้น ได้ตามความปรารถนาของ เราทุกครั้ง
ปราศจาก โรคภัย ไข้ เจ็บจาก เจ้ากรรมนาย เวร
กิจการงาน เจริญรุ่ง เรือง อุดมด้วย โภคทรัพย์
ผู้ ใดอุทิศบุญกุศล อัน เกิดจากการสร้าง ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎกนี้ ให้ ปู่ย่า ตา ยาย บิดา มารดา ฯ บุตร หลาน ที่อยู่ เบื้องหลังมีความ เจริญรุ่ง เรือง
บิดา มารดา จะ มีอายุยืน
สามีภรรยา รัก ใคร่ดีต่อกัน บุตรหลาน เป็นคนดี
ปฏิสนธิวิญญาณบุตร เกิดมา เฉลียวฉลาด ปัญญาดี เลี้ยงง่าย สุขภาพดี
วิญญาณของบรรพบุรุษจะ สู่สุคติภพ
เสริมบุญบารมี ให้ตน เอง
แคล้วคลาดจากอันตรายต่าง ๆ
เมื่อสิ้นอายุขัยจะ ไปสู่สุคติภูมิ
ขอตั้งสัตยาธิษฐาน ขอความ เจริญรุ่ง เรือง จงบัง เกิด แก่ท่านผู้สร้าง ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎกนี้ เพื่อความงอกงาม ในพระ บวรพระ พุทธศาสนาสืบ ไป.
อานิสงส์ การสวด และ ภาวนา ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก
ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎก เป็นพุทธมนต์ อันศักดิ์ สิทธิ์ ไว้สำ หรับสวด และ ภาวนาทุก เช้าคำ เพื่อความสวัสดี เป็นสิริมงคล แก่ผู้สาธยาย อัน เป็นบ่อ เกิด มหา เตชัง มี เดชมาก มหานุภาวัง มีอานุภาพมาก และ มีลาภยศ สุขสรร เสริญ ปราศจากทุกข์ โศก โรคภัย อุปัทวันตราย และ ความพินาศทั้งปวง ตลอดทั้งหมู่มารร้าย และ ศัตรูคู่อาฆาต ไม่อาจ แผ้วพาน ได้
อิติปิ โส ภะ คะ วา อะ ระ หัง
เป็นต้น ถ้าสาธยายหรือภาวนา แล้วจะ นำ มาซึ่งลาภยศ สุขสรร เสริญ และ ปราศจากอันตรายทั้งปวง ตลอดทั้ง เป็นการระ ลึกถึงคุณพระ พุทธ เจ้า เป็นการ เจริญพระ พุทธานุสติ วิปัสสนากัมมัฏฐาน เป็น แดน เกิดของสมาธิอีกด้วย
อะ ระ หันตัง สะ ระ ณัง คัจฉามิ
เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนา แล้ว เป็นการมอบกายถวายชีวิต ไว้กับองค์ พระ พุทธ เจ้า หรือ เอาองค์ พระ พุทธ เจ้า เป็นตาข่าย เพชรคอยปกป้องคุ้มครองรักษาชีวิต ให้ปราศจาก เวรภัย
อิติปิ โส ภะ คะ วา รูปะ ขัน โธ
เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนา แล้ว ขออาราธนาบารมีธรรมของพระ พุทธองค์ สิงสถิต ใน เบญจขันธ์ ของ เรา เพื่อ ให้ เกิด พระ ไตรลักษณญาน อัน เป็นทางของพระ นิพพานสืบต่อ ไป
อิติปิ โส ภะ คะ วา ปะ ฐะ วีธาตุสะ มาธิญาณสัมปัน โน เ
ป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนา ขออำ นาจสมาธิญาณของพระ พุทธองค์ เป็น ไป ในธาตุ ในจักรวาล ใน เทว โลกหรือ ในกามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ และ ใน โลกุตรภูมิ ขอจงมาบัง เกิด ในขันธสันดานของข้าพ เจ้าหรือ เรียกว่า เป็นการ เจริญสมถภาวนา อัน เป็นบ่อ เกิด แห่งรูปฌาน อรูปฌาน อภิญญา เป็นการ เจริญวิปัสสนา อัน เป็นบ่อ เกิด แห่งมรรคผลนิพพาน เป็นการหลุดพ้นจากกิ เลสทั้งปวง ฯ
กุสลา ธัมมา อิติปิ โส ภะ คะ วา
เป็นต้น เป็นการสาธยายหัว ใจพระ วินัยปิฎก หัว ใจพระ สุตตันตปิฎก หัว ใจพระ อภิธรรมปิฎก และ เป็นหัว ใจพระ เจ้า ๕๐๐ ชาติ พระ เจ้า ๑๐ ชาติ และ หัว ใจ อิติปิ โส ตลอดทั้งหัว ใจอื่น ๆ อีก เป็นจำ นวนมาก เมื่อภาวนา แล้วจะ นำ ลาภ ยศ ฐาบรรดาศักดิ์ ทั้ง อายุ วรรณะ สุขะ พละ และ จะ ป้องกันสรรพภัย ต่าง ๆ เพื่อ ให้ เกิดความสวัสดิมงคล แก่ตน และ บุตรหลานสืบ ไป
อินทะ สาวัง มหาอินทะ สาวัง
เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนา แล้วมีทั้งอำ นาจ ตบะ เดชะ ความสุข ความ เจริญรุ่ง เรืองทุกประ การ
พระ อริยสงฆ์ เจ้าทั้งหลายต่างก็กล่าว เน้นว่า พระ พุทธศาสนา เป็นของจริงของ แท้ที่ เรายึดมั่น เป็นหลักชัย แห่งชีวิต ได้ ยิ่งมีการปฏิบัติธรรมทั้งทาน ศีล ภาวนา สม่ำ เสมอความสุขความ เจริญ เกิดขึ้น แก่ตน แน่ อย่าสงสัย การรวยทรัพย์ สิน เงินทอง ไม่ ได้ก่ออานิสงส์ ไม่ เท่ากับรวยบุญรวยกุศล ซึ่งจะ บัง เกิดความสุขความ เจริญ ในปัจจุบัน และ ตามติดวิญญาณ ไปทุกภพทุกชาติด้วย ฉะ นั้น ชาวพุทธทั้งหลาย จง เจริญภาวนา ยอดพระ กัณฑ์ ไตรปิฎกทุก เช้าค่ำ เถิด จะ บัง เกิดความสวัสดิมงคล แก่ตน และ ครอบครัว ให้มีความร่ม เย็น เป็นสุข โดยทั่วหน้า
นมัสการพระ พุทธ เจ้า ๒๘ พระ องค ์

นะ โม เม สัพพะ พุทธานัง
ตัณหังกะ โร มะ หาวี โร
สะ ระ ณังกะ โร โลกะ หิ โต
โกณฑัญ โญ ชะ นะ ปา โมก โข
สุมะ โน สุมะ โน ธี โร
ปะ ทุ โม โลกะ ปัช โช โต
ปะ ทุมุตตะ โร สัตตะ สา โร
สุชา โต สัพพะ โลกัค โค
อัตถะ ทัสสี การุณิ โก
สิทธัต โถ อะ สะ โม โล เก
ปุส โส จะ วะ ระ โท พุท โธ
สิขี สัพพะ หิ โต สัตถา
กะ กุสัน โธ สัตถะ วา โห
กัสสะ โป สิริสัปปัน โน
เตสาหัง สิระ สา ปา เท
วะ จะ สา มะ นะ สา เจวะ
อะ โนมะ ทัสสี ชะ นุตตะ โม
สะ ยะ เน อาสะ เน ฐา เน
อุปปันนานัง มะ เหสินัง
เมธังกะ โร มะ หายะ โส
ทีปังกะ โร ชุตินธะ โร
มังคะ โล ปุริสาสะ โภ
เรวะ โต ระ ติวัฑฒะ โน
นาระ โท วาระ สาระ ถ ี
สุ เม โธ อัปปะ ฏิบุคคะ โล
ปิยะ ทัสสี นะ ราสะ โภ
ธัมมะ ทัสสี ตะ โมนุ โท
ติส โส จะ วะ ทะ ตัง วะ โร
วิปัสสี จะ อะ นูปะ โม
เวสสะ ภู สุขะ ทายะ โก
โกนาคะ มะ โน ระ ณัญชะ โห
โคตะ โม สักยะ ปุงคะ โวฯ
วันทามิ ปุริสุตตะ เม
โสภิ โต คุณะ สัมปัน โน
วันทา เม เต ตะ ถาคะ เต
คะ ม เน จาปิ สัพพะ ทา
 
 
ข้าพ เจ้าขอนอบน้อม แด่พระ พุทธ เจ้าทั้งหลายทั้งปวง ผู้ แสวงหาคุณอัน ใหญ่ซึ่ง ได้อุบัติ แล้วคือ พระ ตัณหังกรผู้กล้าหาญ พระ เมธังกรผู้มียศ ใหญ่ พระ สรณังกรผู้ เกื้อกูล แก่ชาว โลก พระ ทีปังกรผู้ทรง ไว้ซึ่งปัญญาอันรุ่ง เรือง
พระ ทีปังกรผู้ทรง ไว้ซึ่งปัญญาอันรุ่ง เรือง พระ โกณฑัญญะ ผู้ เป็นประ มุข แห่งหมู่ชน พระ มังคละ ผู้ เป็นบุรุษประ เสริฐ พระ สุมนะ ผู้ เป็นธีรบุรุษมีพระ หฤทัยงาม พระ เรวะ ตะ ผู้ เพิ่มพูนความยินดี พระ โสภิตะ ผู้สมบูรณ์ ด้วยพระ คุณ พระ อ โนมทัสสีผู้สูงสุดอยู่ ในหมู่ชน พระ ปทุมะ ผู้ทำ ให้ โลกสว่าง พระ นารทะ ผู้ เป็นสารถีประ เสริฐ พระ ปทุมุตตระ ผู้ เป็นที่พึ่งของหมู่สัตว์ พระ สุ เมธะ ผู้หาบุคคล เปรียบมิ ได้ พระ สุชาตะ ผู้ เลิศกว่าสัตว์ โลกทั้งปวง พระ ปิยทัสสีผู้ประ เสริฐกว่าหมู่นรชน พระ อัตถทัสสีผู้มีพระ กรุณา พระ ธรรมทัสสีผู้บรร เทาความมืด พระ สิทธัตถะ ผู้หาบุคคล เสมอมิ ได้ ใน โลก พระ ติสสะ ผู้ประ เสริฐกว่านักปราชญ์ ทั้งหลาย พระ ปุสสะ ผู้ประ ทานธรรมอันประ เสริฐ พระ วิปัสสสี ผู้หาที่ เปรียบมิ ได้ พระ สิขีผู้ เป็นศาสดา เกื้อกูล แก่สรรพสัตว์ พระ เวสสภู ผู้ประ ทานความสุข พระ กกุสันธะ ผู้นำ สัตว์ ออกจากกันดารตัวกิ เลส พระ โกนาคมนะ ผู้หัก เสียซึ่งข้าศึกคือกิ เลส พระ กัสสปะ ผู้สมบูรณ์ ด้วยสิริ พระ โคตมะ ผู้ประ เสริฐ แห่งหมู่ศากยราช
ข้าพ เจ้าขอกราบ ไหว้พระ บาท ของพระ พุทธ เจ้า เหล่านั้นด้วย เศียร เกล้า และ ขอกราบ ไหว้พระ พุทธ เจ้า เหล่านั้นผู้ เป็นบุรุษอันสูงสุด ผู้ เป็นตถาคตด้วยวาจา และ ใจที เดียว ทั้ง ในที่นอน ในที่นั่ง ในที่ยืน และ แม้ ในที่ เดินด้วย ในกาลทุก เมื่อ ฯ
ตัณ เม สะ ที โก มัง สุ เร โส อะ ปะ นา ปะ สุ สุ ปิ
อะ ธะ สิ ติ ปุ วิ สิ เว กุ โก กะ โค นะ มามิหัง
พระ นามพระ พุทธ เจ้า ตั้ง แต่พระ องค์ แรกถึงพระ องค์ ปัจจุบัน โบราณาจารย์ ท่านถือว่า เป็นพระ คาถา แก้วสารพัดนึก
พระ คาถาชินบัญชร

ในการสวด คาถาชินบัญชร เพื่อ ให้ เกิดอานุภาพยิ่งๆ ขึ้น ก่อนจะ เจริญภาวนา
จึงขอ ให้ตั้งนะ โม 3 จบ และ น้อมจิตระ ลึกถึงคุณพระ คุณสม เด็จ โต ด้วยคำ บูชาดังนี้
ปุตตะ กา โมละ เภปุตตัง  ธะ นะ กา โมละ เภธะ นัง
อัตถิกา เยกายะ ญายะ   เทวานังปิยะ ตัง  สุตตะ วา
อิติปิ โสภะ คะ วา  ยะ มะ ราชา โน  ท้าว เวสสุวัณ โณ
มรณังสุขัง  อะ ระ หัง  สุคะ โต  นะ โมพุทธายะ
...................
พระ คาถาชินบัญชร
เพื่อ ให้ เกิดอานุภาพยิ่งขึ้นก่อน เจริญภาวนาชินบัญชรตั้งนะ โม  3  จบก่อน  แล้วระ ลึกถึง
สม เด็จพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี)
ชะ ยาสะ นากะ ตา  พุทธา   เชตะ วา  มารัง
สะ วาหะ นัง  จะ ตุสัจจาสะ ภัง  ระ สัง  เย  ปิวิงสุ  นะ ราสะ ภา
ตัณหังกะ ราทะ โย  พุทธา  อัฏฐาวีสะ ติ  นายะ กา
สัพ เพ  ปะ ติฏฐิตา  มัยหัง  มัตถะ เก  เต  มุนิสสะ รา
สี เส  ปะ ติฏฐิ โต  มัยหัง  พุท โธ  ธัม โม  ทะ วิ โล
จะ เน  สัง โฆ  ปะ ติฏฐิ โต  มัยหัง  อุ เร  สัพพะ คุณากะ โร
หะ ทะ เย   เม  อะ นุรุท โธ  สารีปุต โต  จะ   ทักขิ เณ
โกณฑัญ โญ  ปิฏฐิภาคัสมิง   โมคคัลลา โน  จะ วามะ เก
ทักขิ เณ  สะ วะ เน  มัยหัง  อาสุง  อานันทะ
ราหุ โล  กัสสะ โป  จะ  มะ หานา โน  อุภาสุง  วาม โสตะ เก
เกสะ โต  ปิฏฐิภาคัสมิง  สุริ โย  วะ  ปะ ภังกะ โร
นิสิน โน  สิริสัมปัน โน   โสภี โต  มุนิ  ปุงคะ โว
กุมาระ กัสสะ โป  เถ โร  มะ เหสี  จิตตะ วาทะ โก
โส มัยหัง  วะ ทะ เน  นิจจัง  ปะ ติฏฐาสิ  คุณากะ โร
ปุณ โณ  อังคุลิมา โลจะ   อุปาลี  นันทะ สีวะ ลี
เถรา  ปัญจะ อิ เมชาตา  นะ ลา เฏ  ติละ กา  มะ มะ
เสสาสีติ  มะ หา เถรา  วิชิตา  ชินะ สาวะ กา
เอ เตสีติ  มะ หา เถรา  ชิตะ วัน โต  ชิน โนระ สา
ชะ ลันตา  สีละ เต เชนะ   อังคะ มัง เคสุ  สัณฐิตา
ระ ตะ นัง  ปุระ โต  อาสิ  ทักขิ เณ   เมตตะ สุต
ตะ กัง  ธะ ชัคคัง  ปัจฉะ โต  อาสิ  วา เม  อังคุลิมาละ กัง
ขันธะ โมระ ปะ ริตตัญจะ   อาฏานาฏิยะ   สุตตะ
กัง  อากา เส  ฉะ ทะ นัง  อาสิ   เสสา  ปาการะ สัณฐิตา
ชินา  นานา  วะ ระ สังยุตตา  สัตตัปปาการะ ลัง
กาตา  วาตะ ปิตตาทิสัญชาตา  พาหิรัชฌัตตุปัททะ วา
อะ เสสา  วินะ ยัง  ยันตุ  อะ นันตะ ชินะ เตชะ สา
วะ เส โต  เม  สะ กิจ เจนะ   สะ ทา  สัมพุทธะ ปัญชะ เร
ชินะ ปัญชะ ระ มัชฌัมหิ  วิหะ รันตัง  มะ หีตะ เล
สะ ทา  ปา เลนตุ  มัง  สัพ เพ  เต  มะ หาปุริสา  สะ ภา
อิจ เจวะ มัน โต  สุคุต โต  สุรัก โข  ชินานุภา เวนะ
ชิตูปัททะ โว  ธัมมานุภา เวนะ   ชิตาริสัง โฆ  สังฆานุภา เวนะ
ชิตันตะ วา โย  สัทธัมมานุภาวะ ปาลิ โต  จะ รามิชินะ ปัญชะ เรติ.

คัดลอกแล้วปริ๊นใส่ กระดาษเลยครับ

ออฟไลน์ รุท หมัดหนักครับ

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 2312
  • เพศ: ชาย
  • ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
    • MSN Messenger - bassudza501@hotmail.com
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: 17 ก.ย. 2552, 05:47:03 »
ผมสวดก่อนนอนและตื่นเช้าครับรู้สึกว่าดีกับตัวเราครับ :054: :054: :089:
รักและศรัทธา

ออฟไลน์ Surat100%

  • ทุติยะ
  • **
  • กระทู้: 3
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: 17 ก.ย. 2552, 07:42:53 »
ใช่ครับ
รู้สึกดีจริง ๆ
แล้วก็เป็นศิริมงคลแก่ตัวเราด้วย

ออฟไลน์ vespa1985

  • ตติยะ
  • ***
  • กระทู้: 71
  • เพศ: ชาย
    • ดูรายละเอียด
    • วัดเขาราหู
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: 01 ต.ค. 2552, 05:07:35 »

ขอบคุณครับ.

ออฟไลน์ kaoprig1

  • จตุตถะ
  • ****
  • กระทู้: 14
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: 28 ต.ค. 2552, 03:34:15 »
ผมก็สวดทุกวันพระครับ แต่ที่สวดทุกวันสวดมาปีกว่าแล้วก็ มีบทพาหุง มหากา อิติปิโส เท่าอายุ+1พระคาถา ชินบัญชร (ถ้าวันพระเพิ่มยอดพระกัณฑ์)เสร็จแล้วแผ่เมตตา ด้วยบท กะระณียะเมตตาสุตแค่นี้ก็ถือว่ายอดแล้วครับ

ออฟไลน์ เด็กวัดหนัง

  • ของดีมาอยู่กับตัว จงรักษาไว้ ตามเท่าชั่วชีวิต.
  • ฉัฏฐะ
  • *
  • กระทู้: 453
  • เพศ: ชาย
  • ศิษย์หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง
    • MSN Messenger - P_1_P_2_880@hotmail.com
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: 28 ต.ค. 2552, 07:20:50 »
ของผมพาหุง+ยอดพระกัณฑ์+ชินบัญชร+นั่งสมาธิ+แผ่เมตตา+แผ่ส่วนกุศล ทุกวันเลยคับ...
พระภาวนาโกศลเถระ (หลวงปู่เอี่ยม สุวณฺณสโร)

ออฟไลน์ phongsak_ng

  • *ที่เกิด/เดียวกัน*ที่อยู่/แตกต่างกัน*ที่ไป/ไม่รู้*
  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 335
  • เพศ: ชาย
  • ชีวิตก็แค่-เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-เสื่อมคลาย-ดับศูนย์
    • ดูรายละเอียด
    • อีเมล
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #11 เมื่อ: 15 ก.พ. 2553, 01:51:23 »
สวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกเหมือนกันค่ะแต่สวดเฉพาะวันพระกับวันกินเจ.......... :009: :009: :009:


 :002: :002: :002: สวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกเหมือนกันครับแต่สวดเฉพาะวันพระ :002: :002: :002:

ออฟไลน์ นะมะพะทะ

  • สัตตมะ
  • **
  • กระทู้: 21
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #12 เมื่อ: 15 ก.พ. 2553, 05:13:52 »
เหมือนกันครับแต่สวดเฉพาะวันพระและสวดต่อด้วยบทล่างครับ
-ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก
-บทธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
-บทอากาวัตตาสูตร
-บทพุทธคุณโดยพิสดาร (คู่พระอาการวัตตาสูตร)

ออฟไลน์ tong_lomsak

  • คณะกรรมการ
  • *****
  • กระทู้: 260
  • อาจาริโย เม ภันเต อายัส์มา ฐิตคุโณ นาม
    • ดูรายละเอียด
ตอบ: มีใครสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกบ้างครับ
« ตอบกลับ #13 เมื่อ: 15 ก.พ. 2553, 05:35:25 »
ของผมบูชาพระรัตนตรัย
อิติปิโส  อิติปิโสถอยหลัง  ชินบัญชร แล้วก็คาถาบูชาหลวงพ่อเปิ่น
เมื่อก่อนสวดสิบสองตำนานด้วยเด๋วนี้เอาแบบย่อๆครับ
จงอย่าเชื่อเพียงแค่ได้รู้ ได้ยิน ได้เห็น ได้อ่าน มา